สำนักงานคณะการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ย้ำ “วัยรุ่นท้อง ต้องได้เรียนต่อ”

0
สพฐ. ย้ำ “วัยรุ่นท้อง ต้องได้เรียนต่อ” หลักการของสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) คือ เมื่อนักเรียนตั้งครรภ์-เด็กต้องได้เรียนต่อ ด้วยการปรึกษากับครอบครัว ร่วมกันจัดการเงียบๆ อย่างเหมาะสม เมื่อคลอดแล้วกลับมาเรียน ประคับประคองให้สามารถเลี้ยงดูได้อย่างดี ต้องไม่ทิ้งเด็ก ช่วยให้เด็กก้าวผ่านวิกฤตและได้ประโยชน์สูงสุด หากสำนักงานพื้นที่การศึกษาเขตจัดการไม่ได้ ขอให้ประสานระดับเขต โดยทางโรงเรียนอาจช่วยเด็กและครอบครัวประสานสำนักงานพัฒนาสังคมฯ จังหวัด กรณีไม่สามารถเลี้ยงลูกได้ด้วยตนเอง เพื่อขอความช่วยเหลือในด้านต่างๆ ที่จำเป็น นอกจากการช่วยเหลือแล้ว ยังร่วมกันกับทุกฝ่าย พัฒนาหลักสูตรและกิจกรรมเรื่องเพศเพื่อส่งเสริมการป้องกัน ร่วมกับ...
Doctor and patient during consultation in medical office

การปรึกษาทางเลือกเมื่อท้องไม่พร้อม Options counseling

2
สิ่งที่ผู้หญิงต้องการทันทีที่พบว่าตนเองตั้งท้องโดยไม่มีความพร้อมคือ ผู้ที่สามารถรับฟังปัญหาอย่างเป็นมิตรโดยไม่ซ้ำเติม/ไม่ตัดสินคุณค่า และให้ข้อมูลรอบด้านเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ รวมทั้งความช่วยเหลือที่สอดคล้องกับสถานการณ์และเงื่อนไขชีวิต เพื่อนำมาช่วยคลี่คลายและแก้ปัญหาได้จริงสถานบริการจึงจำเป็นต้องมีผู้ให้บริการปรึกษาทางเลือก เพื่อให้ผู้หญิงได้ตัดสินใจทางเลือกที่สอดคล้องกับเงื่อนไขการดำเนินชีวิต ศักยภาพของตนเอง สามารถปฏิบัติได้จริง และมีความพร้อมในการรับผลที่ตามมาจากการตัดสินใจได้ การปรึกษาทางเลือกมุ่งให้ผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม รับรู้ข้อมูลทางเลือกอย่างเพียงพอและชัดเจน เพื่อคลี่คลายความรู้สึก มีความเข้าใจ มีความเข้มแข็ง เห็นทางออกชีวิต และสามารถตัดสินใจต่อปัญหาที่เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ โดยผู้ให้การปรึกษาทางเลือกมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ (อ้างอิง :เครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม) มีทักษะในการให้บริการปรึกษา   มีทัศนะที่เป็นกลาง และเท่าทันต่ออคติตนเองที่เกี่ยวข้องกับท้องไม่พร้อม   มีความละเอียดอ่อนต่อประเด็นเชิงเพศภาวะ...

ทำแท้งได้มีกฎหมายรองรับ

0
ยุติการตั้งครรภ์(ทำแท้ง) ทำได้มีกม.รองรับ หมอสูติฯ มอ. เผยการยุติการตั้งครรภ์ทำได้เพราะมีกฎหมายรองรับ แนะควรคำนึงถึงสุขภาพใจของผู้รับบริการเป็นหลัก จากสถิติการสำรวจสถานการณ์การยุติการตั้งครรภ์ในประเทศไทยของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) พ.ศ. ๒๕๕๕ มีอัตราการเสียชีวิตจากการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัยของผู้หญิงไทยปีละ ๒๕–๓๐ คน และบาดเจ็บเพราะภาวะแทรกซ้อนจากการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัยประมาน ๓๐,๐๐๐ คน นายธนพันธ์ ชูบุญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์นายแพทย์ประจำภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กล่าวว่า การยุติการตั้งครรภ์ (ทำแท้ง) สามารถทำได้โดยขึ้นอยู่กับสองเหตุผล ประการแรก : เหตุผลทางกฎหมาย...

ข่าวดี !! ลูกจ้างในโรงงานได้รับสิทธิด้านการตั้งครรภ์

0
กระทรวงแรงงานออกกฎกระทรวงตาม พ.ร.บ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2561 เพื่อสนับสนุนให้ลูกจ้างวัยรุ่น (อายุ 15-20 ปีบริบูรณ์) ได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิทธิอนามัยการเจริญพันธุ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การคุมกำเนิด การฝากครรภ์ และการทำแท้งที่ปลอดภัย ทั้งนี้ สถานประกอบกิจการจะต้องจัดระบบส่งต่อให้วัยรุ่นที่ตั้งท้องได้รับสวัสดิการทางสังคม และบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมต่อไป ผู้สื่อข่าวสังเกตว่าลูกจ้างและนายจ้างรับรู้กฎกระทรวงนี้ค่อนข้างน้อย และไม่มีบทลงโทษกรณีที่นายจ้างไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวง ซึ่งอาจทำให้ลูกจ้างวัยรุ่นเข้าไม่ถึงสิทธิที่จำเป็น รายงานจากการประชุมระดับชาติ สุขภาวะทางเพศ ครั้งที่ 3 การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น...
Pregnancy record keeping

การดูแลหลังคลอดและทางเลือกหลังจากคลอดบุตรแล้ว

0
เป้าหมายของการดูแลหลังคลอด คือ ให้ผู้หญิงมีการเตรียมความพร้อมในการดูแลบุตรในระยะยาวท่ามกลางข้อจำกัด และมีความคิดชัดเจนต่อทางเลือกหลังคลอดว่าจะเลี้ยงดูเอง หรือยกมอบบุตร และการป้องกันการท้องไม่พร้อมในอนาคตด้วยการคุมกำเนิดกึ่งถาวร ส่วนเป้าหมายสำหรับเด็ก คือ เด็กมีสุขภาพดี ได้รับนมแม่ และวัคซีนตามนัด รวมทั้งมีครอบครัวเลี้ยงดูในระยะยาว ผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม และตั้งครรภ์ต่อ ภาวะความไม่พร้อมอาจยังมีอย่างต่อเนื่องจนถึงหลังคลอด ดังนั้น ช่วงหลังคลอด จึงควรได้รับการปรึกษาเพื่อให้การตัดสินใจต่อทางเลือกเป็นไปอย่างสอดคล้องเหมาะสมกับชีวิตของผู้หญิงการเสริมพลัง สร้างความเชื่อมั่น และความพร้อมในสิ่งที่ผู้หญิงได้ตัดสินใจเลือกแล้ว   ทางเลือกหลังคลอด มีดังต่อไปนี้ ต้องการเลี้ยงดูบุตรเอง แม้ว่าตัดสินใจเลี้ยงดูบุตรเอง สำหรับบางคนอาจยังไม่พร้อมในช่วงแรก เนื่องจากยังต้องกลับไปทำงาน ไปเรียนต่อ...

ข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับการยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์

0
ข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับการยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์ หน้า 7 เล่ม 122 ตอนที่ 118 ง ราชกิจจานุเบกษา 15 ธันวาคม 2548 ตามมาตรา 305 แห่งประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2548 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 21 (3) (ฎ) และด้วยความเห็นชอบของสภานายกพิเศษตามมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525 อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา...

ม.301 และ 305 ในมุมของแพทย์ผู้ให้บริการ

1
https://youtu.be/1C1YK52QLBQ โครงการเครือข่ายบริการทางเลือกสำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม จัดการเสวนาเชิงนโนบาย ผ่าทางตันกฎหมายทำแท้งไทย "ทำแท้งมิใช่ความอาญา แต่คือบริการสุขภาพ !! " เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2563 ณ อาคารสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข เพื่อสร้างความเข้าใจต่อกฎหมายอาญาที่เกี่ยวช้องกับการยุติการตั้งครรภ์ วิเคราะห์สถานการณ์และประเด็นต่างๆ จากกรณีศึกษา และแลกเปลี่ยนทัศนะในเรื่องกฎหมายและการยุติการตั้งครรภ์ ประชาสัมพันธ์ความร่วมมือของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แพทยสภา และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในช่วงที่ผ่านมา พบว่าอุปสรรคด้านหนึ่งของการให้บริการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย คือ...

อายุครรภ์ของคุณประมาณ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า
RSA Prompt คืออะไร
ปรึกษาท้องไม่พร้อม
คำนวณอายุครรภ์
คำถามที่พบบ่อย