ในปี 2557 ได้มีการจัดตั้งเครือข่ายอาสา RSA (Referral System for Safe Abortion) ซึ่งเป็นเครือข่ายบุคลากรทางการแพทย์ พยาบาล นักสังคมสงเคราะห์ นักจิตวิทยา และนักสาธารณสุข และอื่นๆ จากภาครัฐและเอกชน รวมตัวกันอาสารับส่งต่อเพื่อยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์ที่ปลอดภัยตามแนวทางราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์ และองค์การอนามัยโลก ด้วยการใช้ยา หรือใช้เครื่องดูดโพรงมดลูก ตามข้อบ่งชี้ที่สอดคล้องกับกฎหมายและข้อบังคับแพทยสภา ให้กับผู้หญิงท้องไม่พร้อมที่มีปัญหาสุขภาพกายและใจโดยเครือข่ายอาสา R-SA มีหลักการดังต่อไปนี้
[vc_custom_heading text=”เครือข่ายอาสาเพื่อการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย” font_container=”tag:h2|text_align:center|color:%2300817e” use_theme_fonts=”yes”]
[bsf-info-box icon_type=”custom” icon_img=”id^1130|url^https://rsathai.org/wp-content/uploads/2018/08/001-care.png|caption^null|alt^null|title^001-care|description^null” img_width=”64″ title=”รับการส่งต่อ” pos=”top”]เพื่อยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยตามแนวทางราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์ และองค์การอนามัยโลก[/bsf-info-box]
[bsf-info-box icon_type=”custom” icon_img=”id^1131|url^https://rsathai.org/wp-content/uploads/2018/08/002-doctor.png|caption^null|alt^null|title^002-doctor|description^null” img_width=”64″ title=”บริการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย” pos=”top”]ด้วยวิธีการใช้ยาและวิธีการทางศัลยกรรม โดยผู้ประสบปัญหาท้องไม่พร้อมได้รับบริการปรึกษาที่รอบด้านและมีทางเลือก ภายใต้ข้อบ่งชี้ทางสุขภาพกายและใจที่สอดคล้องกับกฎหมายและข้อบังคับของแพทยสภา[/bsf-info-box]
[bsf-info-box icon_type=”custom” icon_img=”id^1133|url^https://rsathai.org/wp-content/uploads/2018/08/004-doctor-1.png|caption^null|alt^null|title^004-doctor-1|description^null” img_width=”64″ title=”พัฒนาระบบบริการ และระบบส่งต่อ” pos=”top”]ที่มีมาตรฐานตามหลักวิชาการ ตอบสนองมาตรการลดปัญหาสาธารณสุข ลดอัตราการตายของแม่และเด็กในประเทศไทย[/bsf-info-box]
[bsf-info-box icon_type=”custom” icon_img=”id^1132|url^https://rsathai.org/wp-content/uploads/2018/08/003-team.png|caption^null|alt^null|title^003-team|description^null” img_width=”64″ title=”สนับสนุน ส่งเสริม ร่วมมือกับองค์กร หน่วยงานต่างๆ” pos=”top”]เพื่อลดปัญหาการทำแท้งเถื่อนและไม่ปลอดภัย รวมทั้งเชื่อมโยงเครือข่ายการทำงานกับการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม[/bsf-info-box]
[vc_custom_heading text=”บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบดังนี้” font_container=”tag:h2|text_align:center|color:%2300817e” use_theme_fonts=”yes”]
เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้มีการแต่งตั้ง คณะกรรมการจัดระบบส่งต่อเพื่อยุติตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย โดยมีบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบดังนี้
[bsf-info-box icon=”Defaults-user-md” icon_size=”32″ title=”รับข้อเสนอแนะ การให้คำปรึกษา การสนับสนุนต่างๆ” pos=”top”]และร่วมมือกับองค์กรภาคีเครือข่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยตามกฎหมาย[/bsf-info-box][bsf-info-box icon=”Defaults-female” icon_size=”32″ title=”ป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น” pos=”top”]และตั้งครรภ์ไม่พร้อมในผู้หญิงทุกวัย โดยให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ส่งเสริมให้มีบริการวางแผนครอบครัว การคุมกำเนิดที่เป็นมิตรและเข้าถึงง่าย[/bsf-info-box]
[bsf-info-box icon=”Defaults-refresh” icon_size=”32″ title=”อาสารับส่งต่อเพื่อยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์ ที่ปลอดภัย” pos=”top”]ถูกต้องตามกฎหมายและตามข้อบังคับแพทยสภา ด้วยหลักวิชาที่ทันสมัย และราคาไม่แพง ให้กับผู้หญิงทุกวัยที่ท้องไม่พร้อมที่มีปัญหาสุขภาพ ด้วยการใช้ยา หรือใช้เครื่องดูดโพรงมดลูก พร้อมกับแนะนำการคุมกำเนิด โดยจัดระบบส่งต่อและรับส่งต่อจากพื้นที่ใกล้เคียง และจากสายปรึกษาท้องไม่พร้อม 1663 หลังได้รับบริการปรึกษาทางเลือกที่มีคุณภาพ คาดหวังจะจัดระบบส่งต่อ และขยายเครือข่ายให้ครอบคลุมทั้งประเทศ[/bsf-info-box]
[bsf-info-box icon=”Defaults-bullhorn” icon_size=”32″ title=”ส่งเสริมสิทธิอนามัยการเจริญพันธุ์ของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม” pos=”top”]โดยให้ความรู้ ข้อมูลทางเลือกที่ครบถ้วน บริการให้คำปรึกษาที่มีคุณภาพ เพื่อให้ผู้หญิงมีทางเลือก และตัดสินใจเองอย่างอิสระ ให้การปรึกษาและคุมกำเนิดหลังแท้ง เพื่อป้องกันแท้งซ้ำ[/bsf-info-box][bsf-info-box icon=”Defaults-group users” icon_size=”32″ title=”ให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ” pos=”top”]และปรับทัศนะคติที่ดี แก่สังคมทุกภาคส่วน เพื่อร่วมกันให้ความช่วยเหลือ และจัดบริการแก่ผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมทุกกลุ่มอายุ รวมทั้งวัยรุ่นและเยาวชน[/bsf-info-box]
[vc_custom_heading text=”ปัจจุบันเครือข่าย RSA มีจำนวนสมาชิกเครือข่าย 361 คน ประกอบด้วย” font_container=”tag:h2|text_align:center|color:%2300817e” use_theme_fonts=”yes”][stat_counter icon=”Defaults-user” icon_size=”32″ icon_color=”#ffffff” counter_value=”41″ counter_prefix=”อื่นๆ” counter_suffix=”คน” speed=”3″ counter_color_txt=”#ffffff” desc_font_color=”#ffffff” suf_pref_font_color=”#ffffff”][stat_counter icon=”Defaults-user” icon_size=”32″ icon_color=”#ffffff” counter_value=”171″ counter_prefix=”พยาบาล” counter_suffix=”คน” speed=”3″ counter_color_txt=”#ffffff” desc_font_color=”#ffffff” suf_pref_font_color=”#ffffff”][stat_counter icon=”Defaults-user” icon_size=”32″ icon_color=”#ffffff” counter_value=”14″ counter_prefix=”นักวิชาการสาธารณสุข” counter_suffix=”คน” speed=”3″ counter_color_txt=”#ffffff” desc_font_color=”#ffffff” suf_pref_font_color=”#ffffff”][stat_counter icon=”Defaults-user” icon_size=”32″ icon_color=”#ffffff” counter_value=”26″ counter_prefix=”นักสังคมสงเคราะห์” counter_suffix=”คน” speed=”3″ counter_color_txt=”#ffffff” desc_font_color=”#ffffff” suf_pref_font_color=”#ffffff”][stat_counter icon=”Defaults-user” icon_size=”32″ icon_color=”#ffffff” counter_value=”6″ counter_prefix=”นักจิตวิทยา” counter_suffix=”คน” speed=”3″ counter_color_txt=”#ffffff” desc_font_color=”#ffffff” suf_pref_font_color=”#ffffff”][stat_counter icon=”Defaults-user” icon_size=”32″ icon_color=”#ffffff” counter_value=”103″ counter_prefix=”แพทย์” counter_suffix=”คน” speed=”3″ counter_color_txt=”#ffffff” suf_pref_font_color=”#ffffff”]
[jvfrm_spot_block8 columns=”1″ count=”5″]