พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 มาตรา 5 วัยรุ่นมีสิทธิตัดสินใจด้วยตนเอง

0
สาระสำคัญในมาตรา 5 พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 คือ วัยรุ่นมีสิทธิตัดสินใจด้วยตนเอง ได้รับข้อมูลข่าวสาร ความรู้ บริการอนามัยการเจริญพันธุ์ ที่รักษาความลับและความเป็นส่วนตัว รวมทั้งสวัสดิการสังคม อย่างเสมอภาคและไม่ถูกเลือกปฏิบัติ.. “บริการอนามัยเจริญพันธ์ุ” ครอบคลุมการคุมกำเนิด การยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์ และการดูแลระหว่างตั้งครรภ์-คลอด-หลังคลอด กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เป็นผู้รับผิดชอบหลักในยุทธศาสตร์นี้ โดยร่วมกับ สปสช. สนับสนุนการคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพ และการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย ด้วยการใช้ยา และ กระบอกดูดสุญญากาศ...

แนวทางการยุติการตั้งครรภ์ เพื่อป้องกันการแท้งที่ไม่ปลอดภัย

1
แนวทางการยุติการตั้งครรภ์ เพื่อป้องกันการแท้งที่ไม่ปลอดภัยราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย สตรีตั้งครรภ์ที่มีความจำเป็นต้องได้รับบริการยุติการตั้งครรภ์ ควรได้รับการดูแลจากทีมสหสาขาวิชาชีพซึ่งประกอบด้วยบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่มีความรู้ความสามารถ มีทักษะในการรับฟัง สามารถให้การแนะนำปรึกษาที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้รับบริการซึ่งหมายถึงสตรีตั้งครรภ์ และ/หรือ สามี ครอบครัว ได้ร่วมกันไตร่ตรองถึงความจำเป็น ทางเลือก และวิธีการช่วยเหลือในรูปแบบต่าง ๆ การยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์เป็นการรักษาพยาบาล เพื่อให้เกิดการยุติการตั้งครรภ์อย่างปลอดภัย มีมาตรฐาน ปฏิบัติตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๐๕ และข้อบังคับแพทยสภา ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับการยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์ ตามมาตรา ๓๐๕ แห่งประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ....

ข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับการยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์

0
ข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับการยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์ หน้า 7 เล่ม 122 ตอนที่ 118 ง ราชกิจจานุเบกษา 15 ธันวาคม 2548 ตามมาตรา 305 แห่งประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2548 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 21 (3) (ฎ) และด้วยความเห็นชอบของสภานายกพิเศษตามมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525 อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา...

นโยบายกระทรวงสาธารณสุขกับการป้องกันและแก้ไขท้องไม่พร้อม และการยุติตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย

0
นโยบายกระทรวงสาธารณสุขในการป้องกันและแก้ไขปัญหาตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น และสตรีวัยเจริญพันธุ์และการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัยในประเทศไทย ด้วยปัจจุบันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นและสตรีวัยเจริญพันธุ์ในประเทศไทย นับวันจะทวีความรุนแรงสิ่งที่นำไปสู่ปัญหาสังคมและเป็นสาเหตุหลักของการป่วยและตายจากการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัยของสตรีตั้งครรภ์ในประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุขได้ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อปัญหานี้ โดยจะร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหานี้ ดังต่อไปนี้ ส่งเสริมค่านิยมทางวัฒนธรรม สังคม ทัศนคติ และบทบาททางเพศที่เหมาะสมของวัยรุ่นและประชากรวัยเจริญพันธุ์ ให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาแก่กลุ่มเป้าหมายเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตและป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย ให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ และทัศนคติที่ดีแก่สังคมทุกภาคส่วน เพื่อร่วมกันให้ความช่วยเหลือสตรีที่ตั้งครรภ์ ไม่พร้อมทุกกลุ่มอายุ รวมทั้งวัยรุ่นและเยาวชน จัดให้มีระบบบริการสุขภาพทางเพศ อนามัยการเจริญพันธุ์ วางแผนครอบครัว และการคุมกำเนิดที่เหมาะสม มีคุณภาพ เป็นมิตรและเข้าถึงได้ง่ายแก่วัยรุ่นและสตรีวัยเจริญพันธุ์เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ให้ความรู้ สร้างความเข้าใจและทัศนคติที่ดีแก่ผู้ให้บริการสุขภาพ พัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้าน...

เครือข่ายท้องไม่พร้อมและภาคี ยื่นหนังสือต่อ รมต.กระทรวงสาธารณสุข เร่งรัดจัดทำประกาศกระทรวงฯ เรื่อง การตรวจและรับคำปรึกษาทางเลือกตาม ม.305 (5) พร้อม 4 ข้อเสนอ

2
วันนี้ (26 พฤษภาคม 2565)  ที่สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข เครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงท้องไม่พร้อม นำโดย รศ.ดร.กฤตยา อาชวนิจกุล ร่วมกับภาคีเครือข่าย องค์กรที่ทำงานกับผู้หญิง เด็ก เยาวชน และบุคคลหลากหลายทางเพศ ในด้านสิทธิ สุขภาพ ความเสมอภาคและความเป็นธรรม รวม 36 องค์กร ยื่นจดหมายเปิดผนึกถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเรื่อง “การเร่งรัดจัดทำประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการตรวจและรับคำปรึกษาทางเลือกตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 305 (5)...

ราชกิจจานุเบกษา : กฏกระทรวงกำหนดประเภทของสถานประกอบกิจการและการดำเนินการของสถานประกอบกิจการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นแก่ลูกจ้างซึ่งเป็นวัยรุ่น พ.ศ.2561

0
กฎกระทรวงกำหนดประเภทของสถานประกอบกิจการและการดำเนินการของสถานประกอบกิจการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นแก่ลูกจ้างซึ่งเป็นวัยรุ่น พ.ศ.2561 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2561 มีผลบังคับใช้ 17 ธันวาคม 2561 (30 วันหลังประกาศในราชกิจจานุเบกษา) โดยมีสาระสำคัญประกอบไปด้วย สถานประกอบกิจการทุกประเภทจะต้องจัดให้มีข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องต่อไปนี้ อย่างครบถ้วนและเพียงพอการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์การคุมกำเนิด โดยเฉพาะการคุมกำเนิดกึ่งถาวรการฝากครรภ์และการดูแลครรภ์การแท้งและภาวะแทรกซ้อนจากการแท้งโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โดยเฉพาะการติดเชื้อเอชไอวี ให้พยาบาลประจำสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างมากกว่า 200 คนขึ้นไป ทำหน้าที่ให้การปรึกษาและข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องแก่ลูกจ้างที่เป็นวัยรุ่น ให้สถานประกอบกิจการอำนวยความสะดวกและจัดระบบส่งต่อวัยรุ่นที่จำเป็นต้องได้รับบริการอนามัยการเจริญพันธุ์และสวัสดิการทางสังคมไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่มา : http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/A/094/T_0006.PDF

การประชุมชี้แจงการบริหารจัดบริการยายุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

0
วันนี้ 25 ธันวาคม 2562 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จัดการประชุมชี้แจงการบริหารจัดบริการยายุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ณ โรงแรมทีเค พาเลซ ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยการสนับสนุนงบประมาณจาก สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับหน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนการใช้ยายุติการยุติการตั้งครรภ์ ตลอดจนหน่วยงานภาคีเครือข่าย เพื่อให้การจัดบริการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยด้วยยา (Medabon) เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด การยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย...

9 ข้อมูลสำคัญที่ต้องรู้หากเลือกยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย

28
เมื่อพิจารณาอย่างรอบคอบแล้วว่าตัวเองยังไม่มีความพร้อมที่จะตั้งครรภ์ต่อไปได้ เพื่อให้ปลอดภัยกับผู้หญิงมากที่สุด ควรเลือกยุติเมื่อตั้งท้องไม่เกิน 12 สัปดาห์ เพราะสามารถทำได้ที่คลินิก หากเกินกว่านั้นต้องรับบริการที่โรงพยาบาล และสามารถยุติได้จนถึงอายุครรภ์ที่ 24 สัปดาห์ เทคโนโลยีทางการแพทย์ในปัจจุบันสามารถช่วยให้การยุติการตั้งครรภ์เป็นไปอย่างปลอดภัย ที่สำคัญการยุติการตั้งครรภ์ในประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นการใช้ยา หรือเครื่องดูดสุญญากาศ จะต้องให้บริการโดยแพทย์ 9 ข้อมูลสำคัญที่ต้องรู้หากเลือกยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย ข้อมูลที่ 1 การยุติการตั้งครรภ์มีความปลอดภัยมีผลข้างเคียง และเสี่ยงต่อชีวิตน้อยกว่าการคลอดบุตร แต่ความเสี่ยงจะมากหากไปทำแท้งไม่ปลอดภัย เช่น การซื้อยาทางอินเทอร์เน็ต การรับบริการกับผู้ให้บริการไม่ใช่แพทย์ด้วยวิธีการที่ไม่ปลอดภัย เป็นต้น ข้อมูลที่ 2 การยุติการตั้งครรภ์ที่อายุครรภ์ยิ่งน้อย...

ร่วมกันการแสดงความเห็นร่างประมวลกฎหมายอาญามาตรา 301 และ 305

0
การเปลี่ยนเหลือเวลาอีกเพียง... มาร่วมกันการแสดงความเห็นร่างประมวลกฎหมายอาญามาตรา 301 และ 305 ผ่านเว็บไซต์ของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ระยะเวลา วันนี้ - 18 กันยายน 2563 ร่วมแสดงความเห็น และลงชื่อคลิกที่นี่ สาระสำคัญของร่าง-กฎหมาย มาตรา 301หญิงใดทำให้ตนเองแท้งลูกหรือยอมให้ผู้อื่นทำให้ตนแท้งลูกขณะมีอายุครรภ์เกินสิบสองสัปดาห์ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ สรุป มาตรา 301 เอาผิดผู้หญิงที่ทำแท้งเฉพาะในอายุครรภ์มากกว่า 12 สัปดาห์ มาตรา 305ถ้าการกระทำความผิดตามมาตรา 301 หรือมาตรา 302...

อายุครรภ์ของคุณประมาณ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า
RSA Prompt คืออะไร
ปรึกษาท้องไม่พร้อม
คำนวณอายุครรภ์
คำถามที่พบบ่อย