เพิ่มเงินสงเคราะห์บุตรจากเดิม 400 บาท เป็น 600 บาท เริ่มจ่ายวันที่ 31 ม.ค. 62 เป็นต้นไป

0
สำนักงานประกันสังคมเพิ่มเงินสงเคราะห์บุตรจากเดิม 400 บาท เป็น 600 บาท ให้แก่ผู้ประกันตน โดยจะเริ่มจ่ายในวันที่ 31 ม.ค.2562 เป็นต้นไป เมื่อวันที่ 9 ม.ค. 2562 พล.ต.อ.อดุลย์ แสงสิงแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน เปิดเผยถึง การเพิ่มเงินสงเคราะห์บุตรจากสำนักงานประกันสังคมจากเดิม 400 บาท เป็น 600 บาท...

“ทำแท้ง” ปลอดภัยถูก ก.ม. เป็นอย่างไร?

0
พิกัดเพศ คุยกับ นพ.บุญฤทธิ์ สุขรัตน์ ผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย เรื่องการ"ทำแท้ง" ปลอดภัยและถูกกฎหมายเป็นอย่างไร และเครือข่ายอาสา RSA (Referral System for Safe Abortion) ที่มา : http://thaipbsradio.com/track/5465/

3 ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการทำแท้ง ยุติการตั้งครรภ์

0
จากการเสวนาเชิงนโยบาย “ผ่าทางตันกฎหมายทำแท้งไทย!: การทำแท้งมิใช่ความอาญา แต่คือบริการสุขภาพ!” จัดโดย โครงการพัฒนาเครือข่ายบริการทางเลือกที่ปลอดภัยและเป็นมิตร สำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม ร่วมกับ สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข โดยการสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ณ ห้องสานใจ ชั้น 6 สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2563 ที่ผ่านมา...

ชวนรับชม Live การประชุม Choices ครั้งที่ 54 เรื่อง “สิทธิการทำแท้งถอยหลังในอเมริกา สิทธิการทำแท้งไทยก้าวหน้าแต่ผู้หญิงเข้าไม่ถึงบริการ”

1
เครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม และโครงการ “การติดตามผลระบบบริการยุติการตั้งครรภ์และพัฒนานวัตกรรมบริการนวัตวิถี ในบริบทกฎหมายยุติการตั้งครรภ์ฉบับใหม่” สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กำหนดจัดการประชุมเพื่อสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมครั้งที่ 54 เรื่อง "สิทธิการทำแท้งถอยหลังในอเมริกา สิทธิการทำแท้งไทยก้าวหน้าแต่ผู้หญิงเข้าไม่ถึงบริการ" วันพฤหัสบดีที่ 21 กรกฎาคม 2565 เวลา 13.30-16.00 น. กำหนดการ ดำเนินการประชุม โดย รศ.ดร.กฤตยา อาชวนิจกุล 13.30 - 13.35...
Cropped image of businesswoman working on computer at call center

สายด่วน 1663 ปรึกษาปัญหาท้องไม่พร้อม

2
ประเทศไทยมีปัญหาท้องไม่พร้อมมากเป็นอันดับ 1 ในเอเชีย และจากสถานการณ์ดังกล่าวนำไปสู่การยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัยโดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชน ส่วนหนึ่งมาจากการที่กลัวว่าครอบครัว ผู้ปกครองจะรับไม่ได้ ทำให้เยาวชนหาทางออกด้วยการทำแท้ง ซึ่งส่งผลกระทบต่อร่างกายอย่างรุนแรง กลไกการให้คำปรึกษาปัญหาผ่านสายด่วน 1663 จึงเกิดขึ้น โดยหวังให้เป็นทางเลือกในการแก้ปัญหาที่เหมาะสม คำแนะนำเบื้องต้นที่เจ้าหน้าที่สายด่วน 1663 ให้กับเยาวชนหญิงอายุ 16 ปี คนหนึ่งที่ตั้งครรภ์ได้ 6 เดือน และไม่ต้องการยุติการตั้งครรภ์ แม้ว่าผู้ปกครองจะไม่เห็นด้วยก็ตาม สาเหตุเธอต้องเผชิญปัญหาท้องไม่พร้อมเพียงลำพัง เพราะกลัวทางบ้านรับไม่ได้ กระทบการเรียน...

สรุปผลการประชุมคณะทำงานเว็บไซต์ คร้ังที่ 1

1
เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 61 ที่ผ่านมา โครงการพัฒนาเครือข่ายบริการทางเลือกสำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม จัดประชุมคณะทำงานเว็บไซต์ rsathai.org  ครั้งที่ 1 ณ ห้องประชุมภูเก็ต ร้านอาหาร Cabbages & Condom สมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน สุขุมวิท 12 กรุงเทพฯ ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งสิ้นจำนวน 15 คน ประกอบไปด้วย ที่ปรึกษาเว็บไซต์...

Live ประชุมเปิดโครงการพัฒนาเครือข่ายบริการทางเลือกที่ปลอดภัยและเป็นมิตร สำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม

0
โครงการพัฒนาเครือข่ายบริการทางเลือกที่ปลอดภัยและเป็นมิตร สำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม ดำเนินงานโดยความร่วมมือระหว่าง เครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม ภายใต้สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มีเป้าหมายในการพัฒนาเครือข่ายบริการทั้งตั้งครรภ์ต่อและยุติการตั้งครรภ์ ให้มีความเข้มแข็ง เข้าถึงได้ ให้บริการได้อย่างปลอดภัยและเป็นมิตร รวมทั้งการแสวงหาความต่อเนื่องในการดำเนินงานได้อย่างยั่งยืนในระบบต่อไป โดยมีการประสานงานอย่างใกล้ชิดกับโครงการสายปรึกษาทางเลือกท้องไม่พร้อม 1663 ระยะเวลาดำเนินการ 24 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561...

สปสช. จัดสรรงบเพิ่มยายุติการตั้งครรภ์

0
“สปสช. จัดสรรงบเพิ่มยายุติการตั้งครรภ์” อ่านแล้วสงสัยไหม? ขอขยายความแบบนี้นะ… ยายุติการตั้งครรภ์ (Medabon) ขึ้นทะเบียนในประเทศไทยเมื่อปลายปี 2557 และกระจายไปใช้ในโรงพยาบาลที่ขึ้นทะเบียนการใช้ยากับกรมอนามัย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) รายงานว่า อัตราการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัยในประเทศไทยลดลงอย่างต่อเนื่อง ข้อมูลพบว่า ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัยลดลง 12 ล้านบาทในปี 2558 และลดต่อเนื่องในปี 2559 ถึง 20 ล้านบาท สรุปคือ...

ชีวิตและสิทธิของหญิงท้องไม่พร้อม : ความสำเร็จและพันธกิจที่ต้องสานต่อ … “แต่..ยังมีช่องว่างที่ต้องการพัฒนา”

0
การตีตราสังคมต่อเรื่องทำแท้งยังคงดำรงอยู่ ...เปิดด้วยทัศนะด้วย รศ.ดร.ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาตร์ ในช่วงที่ผ่านมาเราจะได้ยินคำว่าท้องไม่ท้อง แท้งไม่แท้ง กันมาตลอด ซึ่งเป็นกระแสที่สังคมเริ่มมีการพูดถึงกัน นั่นแสดงให้เห็นว่ามีการถกเถียงกันว่าถูกหรือไม่ถูก อย่างที่เรารู้กันมาตลอดว่าความเชื่อของคนในสังคมเรื่อง SEX กับการเจริญพันธุ์ ที่คนส่วนมากเห็นร่วมกันคือ จะต้องเกิดจากสถานการณ์ “การแต่งงานแบบผัวเดียวเมียเดียว” และจะต้องมีความรับผิดชอบในการดูแลทารกที่เกิดมา ความเชื่อนี้มันเกาะกุมคนในสังคมมานาน และเป็นตัวกำหนดที่ตัดสินความผิด ความไม่ถูกต้องหากไม่ทำตาม ในสังคมหากมีการท้องขึ้นมาแบบไม่ใช่ผัวเดียวเมียเดียว อาจเกิดจากการผิดพลาด จากหลายๆ...
Female hand with television remote control

หยุดทำแท้งไม่ปลอดภัย : นารีกระจ่าง ออกอากาศ 13 ต.ค. 2559

0
เรื่องราวของภัยที่มาจากการทำแท้ง ทำแท้งเถื่อน นอกจากจะเป็นการทำลายชีวิตที่กำลังจะเกิดแล้ว ยังส่งผลร้ายต่อร่างกายของผู้ทำแท้งอีกด้วย หากเกิดเหตุการณ์ที่ต้องตกอยู่ในสภาพต้องตัดสินใจทำแท้งเพราะเหตุจำเป็น ควรจะทำอย่างไร ไปติดตามพร้อมกันในภัยรอบตัว แหล่งข้อมูล : https://program.thaipbs.or.th/watch/ZXfvIP สืบค้นเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2561

อายุครรภ์ของคุณประมาณ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า
RSA Prompt คืออะไร
ปรึกษาท้องไม่พร้อม
คำนวณอายุครรภ์
คำถามที่พบบ่อย