อย่าเพิ่งตัดสินผม ว่าเป็นคนไม่ดี มีหลายสิ่งที่คุณยังไม่รู้
เรื่องเล่าจากหมอให้บริการยุติการตั้งครรภ์ (ตอนที่ 2) ความเดิมตอนที่แล้ว https://rsathai.org/contents/16114
ตอบประเด็นสั้นๆ หมอเชื่อเรื่องบาปบุญและกรรม หมอเป็นคนขี้กลัว กลัวทำผิด กลัวรักษาคนไข้แล้วไม่หาย กลัวๆๆๆ หมอกลัวผี หมอรู้ว่า การยุติการตั้งครรภ์ เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ หมอพยายามหาทางแก้ที่ต้นเหตุด้วย ...แต่หญิงที่ท้องไม่พร้อมอยู่ตรงหน้า ถ้าการยุติการตั้งครรภ์ถูกต้องตามหลักการทางการแพทย์ หมอจะไม่ทำได้อย่างไร
ปัจจุบันการยุติการตั้งครรภ์ในหัวข้อ “ไม่พร้อม” สามารถทำได้ถูกต้องตามกฎหมาย เมื่อตั้งครรภ์โดยไม่พร้อม โปรดทำตามขึ้นตอนนี้
โทรติดต่อ...
การประชุมชี้แจงการบริหารจัดบริการยายุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
วันนี้ 25 ธันวาคม 2562 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จัดการประชุมชี้แจงการบริหารจัดบริการยายุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ณ โรงแรมทีเค พาเลซ ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยการสนับสนุนงบประมาณจาก สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับหน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนการใช้ยายุติการยุติการตั้งครรภ์ ตลอดจนหน่วยงานภาคีเครือข่าย เพื่อให้การจัดบริการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยด้วยยา (Medabon) เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด
การยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย...
ทำหมัน ผู้ชายต้องรู้
บริการทำหมันชายที่คลินิกมีชัย สุขุมวิท 12
รู้หรือไม่ !! ปัจจุบันมีบริการทำหมันชาย (หมันเจาะ) มีค่าใช้จ่ายประมาณ 6,000 บาท และจองล่วงหน้า ได้ที่สุขุมวิท 12 คลินิกเวชกรรมชุมชน สมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน (PDA) สาขากรุงเทพฯ
โดยมี 5 ขั้นตอนการทำหมันชาย (หมันเจาะ) ดังนี้
เตรียมหมัน :...
ยาฝังคุมกำเนิดคืออะไร ป้องกันท้องได้อย่างไร
ยาฝังคุมกำเนิดเป็นวิธีการคุมกำเนิดแบบชั่วคราว โดยฝังหลอดบรรจุฮอร์โมนสังเคราะห์เข้าไปใต้ผิวหนัง สามารถคุมกำเนิดได้นานถึง 3 และ 5 ปี ตามชนิดของยา
ชนิด 1 หลอด (ชื่อการค้า Etoplan หรือ Implanon คุมกำเนิดได้ 3 ปี)ชนิด 2 หลอด (ชื่อการค้า Jadelle คุมกำเนิดได้ 5...
เรื่องเล่าจากห้องไลน์ RSA – การตรวจปัสสาวะหลังทำแท้ง/ยุติการตั้งครรภ์
เรื่องเล่าจากห้องไลน์ RSA บทสนทนา ของหมออัลเทอร์ หมอเบลต้า หมอเคลวิน หมออิริค และหมอแฟรี่ (นามสมมุติ ) เรื่องตรวจปัสสาวะหลังยุติฯ เมื่อไหร่ดี ?
หมออัลเทอร์ : เรียนปรึกษาพี่หมอทุกท่านครับ
หมอเบลต้า : ว่าไงคร้บ เล่าเลยครับ …
หมออัลเทอร์ : ผมจะปรึกษาแนวทางการแนะนำให้คนไข้ตรวจการตั้งครรภ์ด้วยปัสสาวะ หลังยุติการตั้งครรภ์ครับ ส่วนตัวผมเองไม่ได้แนะนำให้คนไข้ตรวจเลยในทันที...
การทำหมันชายคืออะไร ทำแล้วไม่สามารถทำงานหนักได้เป็นปกติจริงหรือ ?
การทำหมันชาย (Vasectomy)การผูกตัดท่ออสุจิในผู้ชายได้มีการทำกันมานานกว่า 150 ปีแล้ว ในประเทศไทยมีการทำมานานกว่า 60 ปี ปัจจุบันมีการพัฒนาวิธีการทำหมันให้แผลเล็กมาก เรียกว่า การทำหมันเจาะ (non scalpel vasectomy) และหมันฉีด (vas injection with occlusive agent) นอกจากการพัฒนาเทคนิคการทำหมันแล้ว ยังมีการศึกษาถึงความปลอดภัยในระยะยาวของผู้ที่ได้รับการทำหมันไปแล้ว ซึ่งพบว่ามีสุขภาพดีกว่า ผู้ที่ไม่ได้ทำหมัน
ประสิทธิภาพของการทำหมันชาย...
11 คำแนะนำ “พลิกวิธีคิด” ใหม่ที่ต้องรู้ คุมกำเนิดอย่างไรให้ปลอดภัยที่สุด
ไม่คุมไม่คุ้มนะ โดยใน 1 ปี จะเสี่ยงท้อง 85% หรือท้อง 6 ใน 7 ราย แม้ว่านานๆ จะร่วมเพศก็ต้องคุมสวมถุงยางอนามัยให้ถูกต้องทุกครั้ง ไม่งั้นท้องได้ 14% หรือ 1 ใน 6 รายใน 1 ปี เพราะใส่ผิดวิธี ใส่ช้าไป...
ท้องแบบเซอร์ไพรส์ จากเรื่องจริงของผู้หญิง 14 คน
ประสบการณ์คุมกำเนิดที่ผิดพลาด นำไปสู่การตั้งท้องที่ไม่พร้อม 14 เรื่องจริง เหตุการณ์ท้องแบบ "เซอร์ไพรส์" เพื่อเป็นข้อมูลให้เพื่อนๆ วางแผนการคุมกำเนิดที่ปลอดภัย ห่างไกลจากท้องไม่พร้อมกันค่ะ โดยเล่าจากประสบการ์ณการช่วยเหลือผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม ของคุณหมอเครือข่ายอาสา RSA (Referral System for Safe Abortion) ไปดูกันเลย
1.ประมาท เลินเล่อ นักศึกษาวัย 19 ปีกับแฟนวัยเดียวกัน มีเพศสัมพันธ์แล้วไม่ค่อยคุม...
วิธีรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมมีขั้นตอนอย่างไร
การรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม ดำเนินการโดยศูนย์อำนวยการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม สังกัด กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ซึ่งจัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.2520 ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2520 และตามมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม พ.ศ. 2522 เป็นหน่วยงานรับผิดชอบดำเนินการและดูแลด้านการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมทั่วราชอาณาจักร รวมทั้งทำหน้าที่เป็นสำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม โดยปฏิบัติงานให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2533 และตามกฎกระทรวงที่ออกตามความในพระราชบัญญัติดังกล่าว...
ข้อจำกัดของ “วงสาธารณะ” : การตัดสินเชิงศีลธรรมและการตีตราประณาม – ท้องไม่พร้อม
ปรากฏการณ์ท้องไม่พร้อมและการเลือกยุติการตั้งครรภ์เป็นเรื่องที่คนเผชิญสถานการณ์หรือมีประสบการณ์มาก่อนเลือกที่จะไม่พูดถึง หรือเปิดเผยกับคนทั่วไป ทัศนัย ขันตยาภรณ์ กล่าวถึงแนวโน้มของคนที่จะไม่พูดถึงประสบการณ์นี้ว่า
"เรื่องนี้มันเป็นเรื่องไม่พูดกัน...ส่งผลทำให้คนมีโอกาสที่จะแสวงหาองค์ความรู้เรื่องนั้นน้อย เพราะฉะนั้น (คนที่ไม่เคยเชิญสถานการณ์) พูดบนข้อจำกัดของตัวเอง ในส่วนที่ตัวเองรับรู้มา..กรอบหนึ่งมันเป็นกรอบเรื่องของกฎหมาย อย่างที่ว่า ถ้าคนไม่รู้จริงเรื่องกฎหมาย ก็จะคิดว่ามันเป็นเรื่องที่ผิดหมดเลยเรื่องแบบนี้…ผู้หญิงที่ประสบปัญหาตรงนี้เขาไม่ลุกมาพูด เพราะมันเป็นเรื่องที่ผ่านมาแล้ว จบก็ต้องการให้มันจบ จบแบบไม่มีใครรู้ด้วย.. เลยไม่ได้เกิดการพูดต่อเนื่องไป…ตัวของผู้ที่ประสมปัญหาเองก็ไม่ต้องการที่จะทำให้เป็นเรื่องสาธารณะด้วย ก็ไม่เปิดโอกาสให้คนอื่นเรียนรู้ชีวิตของคนที่ประสบมาด้วย จะต่างจากเอตส์ (ที่ผู้ติดเชื้อได้นำเสนอหรือแลกเปลี่ยนประสบการณ์ให้คนอื่นๆ ในสังคมได้รับรู้)" *(ทัศนัย ขันยาภรณ์ ,...