วันต่อต้านยาเสพติดโลก… และผลกระทบของการเสพสารเสพติดระหว่างตั้งครรภ์

0
26 มิถุนายน ของทุกปี เป็นวันต่อต้านยาเสพติดโลก (International Day against Drug Abuse and Illicit Trafficking ) ปัญหายาเสพติด ได้ก่อให้เกิดความเสียหายร้ายแรงต่อมวลมนุษยชาติทั่วโลก เพื่อเน้นถึงความสำคัญของการต่อสู้กับปัญหาการใช้ยาในทางที่ผิด และการลักลอบค้ายาเสพติด และเพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศทั่วโลก ในการต่อสู้กับปัญหายาเสพติด ในการประชุมระหว่างประเทศว่าด้วยการใช้ยาในทางที่ผิด และการลักลอบใช้ยาเสพติด (International Conference on...

การเสวนาและรณรงค์ ชีวิตและสิทธิของหญิงท้องไม่พร้อม : ความสำเร็จและพันธกิจที่ต้องสานต่อ และ การแถลงข่าว ‘ความสำเร็จของโครงการเพื่อสร้างเครือข่ายบริการทางเลือกที่ปลอดภัยสำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม’

0
กรมอนามัย ร่วมกับเครือข่าย วางเป้าหมายยกระดับคุณภาพชีวิตและสิทธิของหญิงท้องไม่พร้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับเครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส) จัดเสวนาและรณรงค์ชีวิตและสิทธิของหญิงท้องไม่พร้อม เนื่องในวันยุติการตั้งครรภ์ เพื่อให้หญิงท้องไม่พร้อมเข้าถึงการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยและถูกกฎหมาย วันนี้ (18 กันยายน 2563) นายแพทย์บัญชา ค้าของ รองอธิบดีกรมอนามัย เป็นประธานแถลงข่าวความสำเร็จของโครงการเพื่อสร้างเครือข่ายบริการทางเลือกที่ปลอดภัยสำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงตั้งครรภ์ไม่พร้อม ร่วมกับ รองศาสตราจารย์ ดร.กฤตยา อาชวนิจกุล ผู้ประสานงานเครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม และนายชาติวุฒิ วังวล ผู้อำนวยการสำนักสนับสนุนการควบคุมปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ...

Road map to safe and legal abortion in Thai context เนื่องในวันยุติการตั้งครรภ์สากล International Safe Abortion...

0
วันที่ 28 กันยายน ของทุกปี นานาชาติกำหนดให้เป็นวันยุติการตั้งครรภ์สากล (Intemational Safe Abortion Day) คำขวัญในปีนี้คือ Diverse Actions, Different Places, One Demand: Access to Safe & Legal Abortion NOW I...
Retro movie projector

เสวนาภาพยนตร์สารคดีเกี่ยวกับการทำแท้ง “JACKSON THE PLACE WITH ONE CLINIC”  

0
เมื่อวันพุธที่ 27 กันยายน 2560 เครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมจัดงาน “Pro-Voice 4 : Abortion 4 G การทำแท้ง 4 จ.” ขึ้นที่ร้านอาหารเพื่อนรัก ซอยพญานาค โรงแรมเอเชีย เขตราชเทวี กิจกรรมในงานนอกจากเสวนาในประเด็น Abortion 4 G แล้ว ยังมีการฉายภาพยนตร์สารคดีเกี่ยวกับการทำแท้งเรื่อง...

ทำไมต้องแก้กฎหมายทำแท้ง ?

0
ข้อเท็จจริงคือ “กฎหมาย” ควรต้องปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้สอดคล้องกับบริบทของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่เสมอ ประมวลกฎหมายอาญาว่าด้วยความผิดฐานทำให้แท้งลูก ได้ถูกใช้มากว่า 60 ปีแล้ว สภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองไทยที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากมาย ส่งผลให้ในปี พ.ศ. 2560 คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงประมวลกฎหมายอาญา สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ได้หยิบยกเอาประมวลกฎหมายอาญามาตรา 301-305 มาปรับปรุง โดยมีแนวโน้มให้ตีความสุขภาพครอบคลุมสุขภาพทางใจ และกรณีตัวอ่อนในครรภ์มีความพิการหรือมีความเสี่ยงสูงที่จะเป็นโรคทางพันธุกรรมด้วย ปัจจุบันการพิจารณาดังกล่าวยังไม่แล้วเสร็จ รูปธรรมปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในสังคมไทยจากครอบครัว เศรษฐกิจ และสังคม ที่ผลักดันให้ผู้หญิงตัดสินใจยุติการตั้งครรภ์ ได้แก่...

ความเป็นธรรมของกฎหมายอยู่ที่ไหน ?

0
การทำแท้งในประเทศไทยเป็นหนึ่งในบริการสุขภาพที่อยู่ภายใต้กฎหมายอาญา ในขณะที่ 74 ประเทศทั่วโลก รวมทั้งจีน มองโกเลีย เนปาล เวียดนาม และกัมพูชา การทำแท้งเป็นบริการสุขภาพ เหมือนการรักษาอาการเจ็บป่วยทั่วไป การทำแท้งในประเทศไทยอยู่ภายใต้ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 301 - 305 อธิบายโดยย่อให้เป็นภาษาที่เข้าใจง่าย ได้ดังต่อไปนี้ มาตรา 301 ผู้หญิงทำให้ตัวเองหรือให้คนอื่นทำให้แท้ง จะติดคุกถึงสามปี และ/หรือปรับถึงหกหมื่นบาท มาตรา 302 ใครไปทำให้แท้งโดยผู้หญิงยินยอม...

ข้อจำกัดของ “วงสาธารณะ” : การตัดสินเชิงศีลธรรมและการตีตราประณาม – ท้องไม่พร้อม

0
ปรากฏการณ์ท้องไม่พร้อมและการเลือกยุติการตั้งครรภ์เป็นเรื่องที่คนเผชิญสถานการณ์หรือมีประสบการณ์มาก่อนเลือกที่จะไม่พูดถึง หรือเปิดเผยกับคนทั่วไป ทัศนัย ขันตยาภรณ์ กล่าวถึงแนวโน้มของคนที่จะไม่พูดถึงประสบการณ์นี้ว่า "เรื่องนี้มันเป็นเรื่องไม่พูดกัน...ส่งผลทำให้คนมีโอกาสที่จะแสวงหาองค์ความรู้เรื่องนั้นน้อย เพราะฉะนั้น (คนที่ไม่เคยเชิญสถานการณ์) พูดบนข้อจำกัดของตัวเอง ในส่วนที่ตัวเองรับรู้มา..กรอบหนึ่งมันเป็นกรอบเรื่องของกฎหมาย อย่างที่ว่า ถ้าคนไม่รู้จริงเรื่องกฎหมาย ก็จะคิดว่ามันเป็นเรื่องที่ผิดหมดเลยเรื่องแบบนี้…ผู้หญิงที่ประสบปัญหาตรงนี้เขาไม่ลุกมาพูด เพราะมันเป็นเรื่องที่ผ่านมาแล้ว จบก็ต้องการให้มันจบ จบแบบไม่มีใครรู้ด้วย.. เลยไม่ได้เกิดการพูดต่อเนื่องไป…ตัวของผู้ที่ประสมปัญหาเองก็ไม่ต้องการที่จะทำให้เป็นเรื่องสาธารณะด้วย ก็ไม่เปิดโอกาสให้คนอื่นเรียนรู้ชีวิตของคนที่ประสบมาด้วย จะต่างจากเอตส์ (ที่ผู้ติดเชื้อได้นำเสนอหรือแลกเปลี่ยนประสบการณ์ให้คนอื่นๆ ในสังคมได้รับรู้)" *(ทัศนัย ขันยาภรณ์ ,...

ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขประมวลกฎหมายอาญา ว่าด้วยความผิดฐานทำแท้งผ่านการพิจารณาของวุฒิสภาแล้วเมื่อวันที่ 25 มกราคมที่ผ่านมา…แล้วยังไงต่อ?

2
อาจารย์รณกรณ์ บุญมี จากคณะนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ อธิบายดังนี้ขั้นต่อไปก็คือการทูลเกล้า และหลังจากที่ทรงลงพระปรมาภิไธยกฎหมายฉบับนี้ก็จะไปแก้ไขประมวลกฎหมายอาญา 2 มาตรา คือ มาตรา 301 และ 305 โดยมีสาระสำคัญดังนี้ 1. อายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ 1.1 ตัวหญิงเจ้าของครรภ์ก) หญิงทำเอง = หญิงไม่ผิด ข)...
Top view of blank notepad on wooden office desk

ชาวไอร์แลนด์ลงประชามติยกเลิกกฎหมายห้ามทำแท้งร้อยละ 66.4 เห็นด้วยที่จะยกเลิก การห้ามทำแท้ง

0
https://www.youtube.com/watch?v=UwzurL8HCGM&feature=youtu.be ชาวไอร์แลนด์ลงมติเห็นชอบให้ยกเลิกการห้ามทำแท้ง โดยให้สิทธิ์แก่สตรีในการตัดสินใจเอง ซึ่งผลการลงประชามติครั้งนี้จะนำไปสู่การแก้ไขรัฐธรรมนูญ ชาวไอร์แลนด์ต่างแสดงความยินดีหลังทราบผลการลงประชามติ โดยเสียงส่วนใหญ่คือร้อยละ 66.4 เห็นด้วยที่จะยกเลิก การห้ามทำแท้ง โดยผลการลงประชามติในครั้งนี้จะนำไปสู่การแก้ไขรัฐธรรมนูญ ซึ่งแต่เดิมอนุญาตให้ทำแท้งได้ในกรณีที่การตั้งครรภ์ทำให้ชีวิตของมารดาตกอยู่ในความเสี่ยง แต่ไม่รวมถึงการตั้งครรภ์จากการถูกข่มขืน การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่มีความใกล้ชิดทางสายเลือด และทารกในครรภ์มีความผิดปกติขั้นรุนแรง เนื่องจากกฎหมายให้ทารกที่อยู่ในครรภ์มีสิทธิ์ในการมีชีวิตเทียบเท่ากับมารดา ดังนั้นหากมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญแล้ว ผู้หญิงมีสิทธิ์ในการตัดสินใจว่าต้องการทำแท้งหรือไม่ ทั้งนี้เมื่อปี 2558 ไอร์แลนด์เป็นประเทศแรกของโลกที่ลงประชามติยินยอมให้คนเพศเดียวกันสามารถแต่งงานกันได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย ที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=UwzurL8HCGM&feature=youtu.be

พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 มาตรา 5 วัยรุ่นมีสิทธิตัดสินใจด้วยตนเอง

0
สาระสำคัญในมาตรา 5 พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 คือ วัยรุ่นมีสิทธิตัดสินใจด้วยตนเอง ได้รับข้อมูลข่าวสาร ความรู้ บริการอนามัยการเจริญพันธุ์ ที่รักษาความลับและความเป็นส่วนตัว รวมทั้งสวัสดิการสังคม อย่างเสมอภาคและไม่ถูกเลือกปฏิบัติ.. “บริการอนามัยเจริญพันธ์ุ” ครอบคลุมการคุมกำเนิด การยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์ และการดูแลระหว่างตั้งครรภ์-คลอด-หลังคลอด กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เป็นผู้รับผิดชอบหลักในยุทธศาสตร์นี้ โดยร่วมกับ สปสช. สนับสนุนการคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพ และการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย ด้วยการใช้ยา และ กระบอกดูดสุญญากาศ...

อายุครรภ์ของคุณประมาณ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า
RSA Prompt คืออะไร
ปรึกษาท้องไม่พร้อม
คำนวณอายุครรภ์
คำถามที่พบบ่อย