มุมมองของแพทย์ต่อการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย – นพ.ชาญชัย บุญอยู่
https://www.youtube.com/watch?v=f3_k04fLAKo
นพ.ชาญชัย บุญอยู่ ผู้อํานวยการโรงพยาบาลบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา
ผู้มีปัญหาท้องไม่พร้อม โทรสายด่วน 1663 เพื่อรับบริการปรึกษา ความช่วยเหลืออื่นๆ และส่งต่อไปยังสถานบริการเครือข่ายแพทย์อาสา RSA ทั้งรัฐและเอกชนที่มีอยู่ทั่วประเทศ ติดตามข่าวสาร ความเคลื่อนไหวท้องไม่พร้อมได้ที่ www.rsathai.org และ facebook : https://web.facebook.com/rsathai.org/
Webcast Women’s health online ครั้งที่ 2
บันทึกการบรรยายเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562 ถ่ายทอดสดจากห้องประชุมนรพัฒน์ สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เวลา 12.00 - 13.00 น.
โดยมีหัวข้อการบรรยาย ดังนี้1. บรรยายกฏกระทรวงกำหนดประเภทของสถานบริการและการดำเนินการของสถานบริการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2562 โดย พญ.พรรณพิมล วิปุลากร อธิบดีกรมอนามัย
2. Contraceptive management in women...
1663 สายด่วนท้องไม่พร้อม ! นโยบายจากกระทรวง สธ. แก้ไขปัญหาการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย
https://www.youtube.com/watch?time_continue=102&v=oS_gMZ_qbl0
"... ด้วยข้อกฎหมายในอดีตมันเหมือนมองว่าการยุติการตั้งครรภ์ที่เราเรียกว่าทำแท้งมันถูกตราว่าผิดกฎหมาย แต่ในปัจจุบันต้องทำความเข้าใจใหม่ว่ากฎหมายได้เปิดช่องให้มารดาได้มีลูกที่มีคุณภาพ ขณะเดียวกันแพทย์ก็มีข้อบังคับแพทยสภาที่จะดูแลทุกคนให้ยุติตั้งครรภ์ปลอดภัย ต้องลบความคิดที่ว่า การทำแท้งผิดกฎหมาย แต่การทำแท้งที่มีกฎหมายรองรับและมีกระบวนการที่ถูกต้องเท่านั้นที่กรมอนามัยให้นโยบายไว้เป็นแนวทางที่ต้องปฎิบัติให้ถูกต้อง..."
นายแพทย์บัญชา ค้าของ รองอธิบดีกรมอนามัย
ที่มา : https://med.mahidol.ac.th พบหมอรามา ช่วง RamaHealthTalk
โดย นายแพทย์บัญชา ค้าของ รองอธิบดีกรมอนามัย ออกอากาศเมื่อวันที่ 17 มกราคม 2562
Live ประชุมเปิดโครงการพัฒนาเครือข่ายบริการทางเลือกที่ปลอดภัยและเป็นมิตร สำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม
โครงการพัฒนาเครือข่ายบริการทางเลือกที่ปลอดภัยและเป็นมิตร สำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม ดำเนินงานโดยความร่วมมือระหว่าง เครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม ภายใต้สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
มีเป้าหมายในการพัฒนาเครือข่ายบริการทั้งตั้งครรภ์ต่อและยุติการตั้งครรภ์ ให้มีความเข้มแข็ง เข้าถึงได้ ให้บริการได้อย่างปลอดภัยและเป็นมิตร รวมทั้งการแสวงหาความต่อเนื่องในการดำเนินงานได้อย่างยั่งยืนในระบบต่อไป โดยมีการประสานงานอย่างใกล้ชิดกับโครงการสายปรึกษาทางเลือกท้องไม่พร้อม 1663 ระยะเวลาดำเนินการ 24 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561...
“หนัง (มัน)สั้น แต่รักฉันยาว” มุมมองของคนทำหนังโดยเยาวชนกับประเด็นท้องวัยรุ่น
จากการประกวดคลิป "หนัง(มัน)สั้น แต่รักฉันยาว" ให้เยาวชนส่งผลงานเข้าประกวดคลิปหนังสั้น โดยมีผลงานส่งเข้าประกวดกว่า 260 เรื่อง ซึ่งผ่านเข้ารอบเพียง 10 เรื่อง ทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมตอนปลายและประกาศนียบัตร (ปวช.) และระดับมหาวิทยาลัยและประกาศนียบัตรชั้นสูง (ปวส.) ซึ่งเรื่องที่ได้รับรางวัลชนะเลิศ คือ เรื่อง "รักผิดชอบ" จากทีม เจค ว.2 และ เรื่อง...
Live “การยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยด้วยการใช้ยามิฟิพริสโตนและไมโซพรอสตอลที่บรรจุในแผงเดียวกัน (Medabon) และกระบอกดูดสุญญากาศ (Manual Vacuum Aspiration: MVA)” โดย ผศ.นพ.ธนพันธ์ ชูบุญ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Facebook Live "การยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยด้วยการใช้ยามิฟิพริสโตนและไมโซพรอสตอลที่บรรจุในแผงเดียวกัน (Medabon®) และกระบอกดูดสุญญากาศ (Manual Vacuum Aspiration: MVA)" โดย ผศ.นพ.ธนพันธ์ ชูบุญ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
https://www.youtube.com/watch?v=A1QwTNhYJLc
โครงการพัฒนาเครือข่ายบริการทางเลือกที่ปลอดภัยและเป็นมิตร สำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม กำหนดจัดประชุมเครือข่ายอาสาส่งต่อยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย (RSA) ภาคใต้ ระหว่างวันที่ 21 – 22 มกราคม 2562 ณ โรงแรมหรรษา เจบี...
Live “มุมมองใหม่ ทำแท้งปลอดภัย” ความจำเป็นและแนวทางการยุติการตั้งครรภ์เพื่อป้องกันการแท้งที่ไม่ปลอดภัยและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง การจัดบริการยาฝังคุมกำเนิด และการเบิกจ่ายตามหลักประกันสุขภาพ โดย อาจารย์นายแพทย์ชาญชัย บุญอยู่
“มุมมองใหม่ ทำแท้งปลอดภัย” ความจำเป็นและแนวทางการยุติการตั้งครรภ์เพื่อ ป้องกันการแท้งที่ไม่ปลอดภัยและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง การจัดบริการยาฝังคุมกำเนิด และการเบิกจ่ายตามหลักประกันสุขภาพ โดย อาจารย์นายแพทย์ชาญชัย บุญอยู่ รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมาด้านเวชกรรมป้องกัน (ผชช.ว.) ผู้ประสานงานภาคเครือข่ายอาสา RSA
https://www.youtube.com/watch?v=RNlvPO9_shE
ที่มา : การบรรยายพิเศษ “การยุติการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เงื่อนไข และกฏเกณฑ์ทันยุค ที่บุคลากรสาธารณสุขควรรู้” (ภายใต้กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอด บทเรียนกิจกรรมโครงการที่ทำได้ดี โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจังหวัดเลย : อนามัยเจริญพันธุ์ดี มีสุข...
Live เปิดการประชุมและกล่าวต้อนรับ โดย นายแพทย์ปรีดา วรหาร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเลย การบรรยายพิเศษ “การยุติการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เงื่อนไข และกฏเกณฑ์ทันยุค ที่บุคลากรสาธารณสุขควรรู้”
เปิดการประชุมและกล่าวต้อนรับ โดย นายแพทย์ปรีดา วรหาร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเลย
https://www.youtube.com/watch?v=IINwRO4E0zY
การบรรยายพิเศษ “การยุติการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เงื่อนไข และกฏเกณฑ์ทันยุค ที่บุคลากรสาธารณสุขควรรู้” (ภายใต้กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียนกิจกรรมโครงการที่ทำได้ดี โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจังหวัดเลย : อนามัยเจริญพันธุ์ดี มีสุข วัยรุ่นเลย : Loei Buddy Happy Teen ) ในวันศุกร์ที่ 4...
Live การรับคำร้องของศาลรัฐธรรมนูญมีนัยทางกฎหมายอย่างไร? ผศ. ดร. รณกรณ์ บุญมี
https://www.youtube.com/watch?v=Ho0gMRa1QNg&feature=youtu.be
การรับคำร้องของศาลรัฐธรรมนูญมีนัยทางกฎหมายอย่างไร?
ผศ. ดร. รณกรณ์ บุญมี อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ที่มา : https://youtu.be/Ho0gMRa1QNg แถลงข่าว "ศาลรัฐธรรมนูญรับคำร้องพิจารณามาตรา 301 และ 305 แห่งประมวลกฎหมายอาญาว่ามีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย" จัดโดย เครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงท้องไม่พร้อม และ เครือข่ายอาสา RSA ร่วมกับ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ 20...
Live ความเป็นมา กระบวนการ และผลการยื่นคำร้องฯ นพ. อมร แก้วใส ผู้ประสานงาน เครือข่ายอาสา RSA
https://youtu.be/PtfX3wkUShU
นพ.อมร แก้วใส ผู้ประสานงานเครือข่ายอาสา RSA กล่าวว่า ระหว่างที่ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณา ขอให้ บุคลากรสาธารณสุขทุกระดับไม่หวาดหวั่นต่อการช่วยเหลือผู้หญิงให้เข้าถึงการทำแท้งทางการแพทย์ที่ปลอดภัย รวมทั้งลดอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการดังกล่าว และขอให้ตำรวจมุ่งเป้าหมายไปที่การกวาดล้างการทำแท้งเถื่อน และการขายยาทำแท้งออนไลน์ เพื่อลดการบาดเจ็บและเสียชีวิตของผู้หญิงไทยมากกกว่าการจับคุมบุคลากรทางการแพทย์ที่ให้บริการยุติการตั้งครรภ์อย่างปลอดภัยภายใต้เงื่อนไขกฎหมายและข้อบังคับของแพทยสภา ทั้งนี้ มีหลักฐานชี้ชัดว่าอัตราการเสียชีวิตด้วยการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยต่ำกว่าการทำแท้งเถื่อนถึง 300 เท่า
“กฎหมายอาญาดังกล่าวใช้มาตั้งแต่ พ.ศ.2500 ซึ่งกำหนดเงื่อนไขการยุติการตั้งครรภ์เพียงกรณีความจำเป็นทางสุขภาพและการตั้งครรภ์นั้นเกิดจากความผิดทางอาญา แต่ต้องเข้าใจว่าบริบททางสังคมและการแพทย์ในสมัยนั้นล้าหลังมาก ในขณะที่สังคมปัจจุบันเปลี่ยนไป การแพทย์ก็ก้าวหน้ามาก จึงจำเป็นที่ต้องยกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมายให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน” นพ.อมร กล่าว
ที่มา...