แบบฟอร์มรายงานการยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์

2
แบบฟอร์มรายงานการยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์   คลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลด

การยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ผิดกฎหมาย โดย ศ.ดร.ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ

0
การยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ผิดกฎหมาย โดย ศ.ดร.ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ ปัญหาเรื่องการทำแท้งในเมืองไทยเป็นปัญหาที่ถกเถียงกันไปได้ไม่รู้จบ ยิ่งหากยกเอาเรื่องศีลธรรมขึ้นมากล่าวอ้างถกเถียงกันไปมา โดยไม่เคยฟังคนที่ตั้งครรภ์เลยว่าเขาคิดอย่างไร ในขณะที่รัฐก็ออกกฎหมายบังคับเอากับหญิงที่ไปทำแท้ง ทำให้เกิดความรู้สึกว่า แม้โดยส่วนตัวผมเองจะไม่สนับสนุนให้มีการทำแท้ง แต่เห็นว่า การยุติการตั้งครรภ์อันไม่พึงปราถนานั้น เป็นสิทธิอันชอบธรรมของหญิง ในเมื่อเขาไม่พร้อมที่จะมีจะบังคับให้หญิงอุ้มท้องต่อไป โดยที่รัฐก็ไม่ได้ยื่นมือเข้ามาช่วยเลย จึงขาดความชอบธรรมที่จะลงโทษหญิงที่ไปทำแท้ง ... ที่มา : การยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ผิดกฎหมาย โดย ศ.ดร.ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ วารสารการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมฉบับ ตุลาคม - ธันวาคม...

6 ข้อเสนอเชิงนโยบาย เพื่อใช้ขับเคลื่อนการพัฒนา “แนวทางการบริการและคุ้มครองสิทธิ์ของวัยรุ่นและผู้หญิงท้องไม่พร้อมที่ตั้งครรภ์ต่อ”

0
จากการประชุมเรื่อง “สังคม (ไม่)ทําอะไรกับท้องของวัยรุ่น” จัดโดยเครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมครั้งที่46 (1/2562 ) เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2562 ในงานประชุมวิชาการสุขภาวะทางเพศระดับชาติครั้งที่ 3 ณ โรงแรม เซ็นทราศูนย์ประชุมวายุภักดิ์ สาระสำคัญของการประชุม ผู้หญิงท้องต่อส่วนใหญ่อยู่ในภาวะจำยอม เพราะไม่สามารถทำแท้งได้เนื่องจากมีอายุครรภ์ที่สูง มีความเสี่ยงสูงต่อการทำแท้งเองและไม่ปลอดภัยมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ส่วนใหญ่จะรู้สึกโดดเดี่ยว และต้องปรับตัวเพื่อให้เกิดการยอมรับที่ตนเองจะต้องท้องต่อจนคลอดต่อไปผู้หญิงท้องไม่พร้อมและท้องต่อในลักษณะนี้จำนวนมากจึงไม่ได้ฝากครรภ์หรือมาฝากเมื่ออายุครรภ์มากแล้วใกล้คลอดและอาจตกอยู่ในสภาวการณ์เปราะบาง ต่อการตัดสินใจทิ้งลูกเมื่อคลอดแล้ว พบตัวอย่างกรณีวัยรุ่นท้องในชุมชน จากประสบการณ์ของโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจังหวัดนครพนมวัยรุ่นยังไม่รู้สึกปลอดภัยหรือไว้วางใจเมื่อต้องเข้าสู่กระบวนการช่วยเหลือที่ซับซ้อน...
Media coverage of politics

นโยบายกระทรวงสาธารณะสุขในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นและสตรีวัยเจริญพันธุ์ และการยุติตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัยในประเทศไทย

0
นโยบายกระทรวงสาธารณะสุข ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นและสตรีวัยเจริญพันธุ์ และการยุติตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัยในประเทศไทย   ที่มา: http://rhold.anamai.moph.go.th/all_file/index/policy_publicHealth.pdf

การศึกษาภาวะซึมเศร้าของสตรีตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ที่เข้ารับบริการยุติการตั้งครรภ์ที่โรงพยาบาลห้วยราช จังหวัดบุรีรัมย์

0
การศึกษาภาวะซึมเศร้าของสตรีตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ที่เข้ารับบริการยุติการตั้งครรภ์ที่โรงพยาบาลห้วยราช จังหวัดบุรีรัมย์ โดย นพ.ภุชงค์ ไชยชิน นางวิจิตรา วาลีประโคน ...หลังการยุติการตั้งครรภ์ พบว่า ผู้รับบริการส่วนใหญ่มีระดับภาวะซึมเศร้าอยู่ในเกณฑ์ปกติ ซึ่งในกลุ่มที่ผิดปกติ พบว่าเป็นผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าระดับปานกลางถึงมากที่สุด จึงตอบคำถามการวิจัยได้ว่าภาวะซึมเศร้าหลังการยุติการตั้งครรภ์ของผู้รับบริการส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ปกติและ เมื่อเปรียบเทียบระดับภาวะซึมเศร้าก่อนและหลังยุติการตั้งครรภ์ พบว่า ผู้รับบริการส่วนใหญ่มีภาวะซึมเศร้าที่ลดลงซึ่งแสดงว่าผลการรักษาดีขึ้น แต่ก็ยังพบว่ามีผู้รับบริการร้อยละ 10.3 ที่ระดับภาวะซึมเศร้าเพิ่มขึ้น ซึ่งคล้ายกับการศึกษาของ Christensen และคณะ ที่พบว่าสตรีตั้งครรภ์ไม่ตั้งใจมีภาวะซึมเศร้าในระยะหลังคลอด ร้อยละ 10.2...

รายงานเฝ้าระวัง การตั้งครรภ์แม่วัยรุ่น พ.ศ. 2561 – Teenage Pregnancy Surveillance Report, 2018

0
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย ได้ดำเนินงานเฝ้าระวังการตั้งครรภ์แม่วัยรุ่นมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 เก็บข้อมูลแม่วัยรุ่นอายุ < 20 ปี ที่มารับบริการฝากครรภ์และตรวจหลังคลอดในโรงพยาบาลในช่วงเมษายน - พฤษภาคม 2561 ผลการเฝ้าระวังครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า ควรพัฒนารูปแบบและคุณภาพของระบบบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ที่คลอบคลุมทุกบริการที่จำเป็นทุกด้านที่เป็นมิตรและได้รับสวัสดิการสังคมอย่างเสมอภาค และจัดให้มีบริการให้การปรึกษาการวางแผนครอบครัวในการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในทุกกลุ่มอายุ และแนวทางการจัดบริการอนามัยการเจริญพันธุ์สำหรับวัยรุ่นในโรงพยาบาลทุกแห่ง และมีการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการจัดบริการอนามัยการเจริญพันธุ์สำหรับวัยรุ่นให้แก่บุคลากรอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้โรงพยาบาลทุกแห่งดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับชาติ พ.ศ.2560 - 2569 ตามพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559...

ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2561 เผยแพร่กฎกระทรวง กำหนดประเภทของสถานศึกษาและการดำเนินการของสถานศึกษา ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2561

0
โดยมีสาระสำคัญ คือ ให้สถานศึกษาแต่ละประเภท คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ระดับอาชีวศึกษา (ปวช., ปวส.,ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ) และระดับอุดมศึกษา ดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยจัดให้มีการเรียนการสอนเรื่องเพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิต ให้เหมาะสมกับช่วงวัยของนักเรียนนักศึกษา โดยมีเนื้อหาและกระบวนการเรียนรู้ในเรื่องเพศที่ครอบคลุมถึงพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย การมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล พฤติกรรมทางเพศ สุขภาวะทางเพศ และมิติทางสังคมและวัฒนธรรมที่ส่งผลกระทบต่อเรื่องเพศ รวมทั้งสิทธิการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและความรู้เกี่ยวกับอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ให้ความสำคัญกับความหลากหลายและความเสมอภาคทางเพศ รวมทั้งจัดให้มีการติดตามและประเมินผลเกี่ยวกับประสิทธิผลของการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ และให้เป็นส่วนหนึ่งของการวัดผลการศึกษา ทั้งนี้ ให้สถานศึกษาจัดหาและพัฒนาผู้สอน ให้มีความรู้ความสามารถ มีทัศนคติที่ดี และมีทักษะการสอนที่เหมาะสม รวมทั้งเข้าใจจิตวิทยาการเรียนรู้ของนักเรียนหรือนักศึกษาแต่ละระดับที่สอดคล้องกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อให้สามารถสอนเพศวิถีศึกษา ทักษะชีวิต และให้คำปรึกษาในเรื่องการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นแก่นักเรียนหรือนักศึกษา...

เอกสารแนะนำเว็บไซต์ RSATHAI.ORG , FACEBOOK FANPAGE: RSATHAI

0
WWW.RSATHAI.ORG เปิดบริการอย่างเป็นทางการในเดือนกันยายน 2561 ซึ่งตรงกับวันยุติการตั้งครรภ์สากล โดยเครือข่ายอาสา RSA (Referral System for Safe Abortion) บริหารจัดการในรูปแบบคณะทำงานเว็บไซต์ ที่เป็นตัวแทนจาก เครือข่ายอาสา RSA และพันธมิตร ได้แก่ เครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม สายปรึกษาท้องไม่พร้อม 1663 ภายใต้การเอื้ออำนวยของสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข WWW.RSATHAI.ORG มุ่งหวังในการใช้สื่อออนไลน์เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลอ้างอิงการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยตามหลักวิชาการที่ถูกต้อง เพราะปัจจุบันผู้ประสบปัญหามักแสวงหาข้อมูลที่ผิดๆ...
Medical Doctor Concept

ข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฎิบัติเกี่ยวกับการยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์

0
ข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฎิบัติเกี่ยวกับการยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์ law-305

อายุครรภ์ของคุณประมาณ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า
RSA Prompt คืออะไร
ปรึกษาท้องไม่พร้อม
คำนวณอายุครรภ์
คำถามที่พบบ่อย