การศึกษาภาวะซึมเศร้าของสตรีตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ที่เข้ารับบริการยุติการตั้งครรภ์ที่โรงพยาบาลห้วยราช จังหวัดบุรีรัมย์

0
การศึกษาภาวะซึมเศร้าของสตรีตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ที่เข้ารับบริการยุติการตั้งครรภ์ที่โรงพยาบาลห้วยราช จังหวัดบุรีรัมย์ โดย นพ.ภุชงค์ ไชยชิน นางวิจิตรา วาลีประโคน ...หลังการยุติการตั้งครรภ์ พบว่า ผู้รับบริการส่วนใหญ่มีระดับภาวะซึมเศร้าอยู่ในเกณฑ์ปกติ ซึ่งในกลุ่มที่ผิดปกติ พบว่าเป็นผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าระดับปานกลางถึงมากที่สุด จึงตอบคำถามการวิจัยได้ว่าภาวะซึมเศร้าหลังการยุติการตั้งครรภ์ของผู้รับบริการส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ปกติและ เมื่อเปรียบเทียบระดับภาวะซึมเศร้าก่อนและหลังยุติการตั้งครรภ์ พบว่า ผู้รับบริการส่วนใหญ่มีภาวะซึมเศร้าที่ลดลงซึ่งแสดงว่าผลการรักษาดีขึ้น แต่ก็ยังพบว่ามีผู้รับบริการร้อยละ 10.3 ที่ระดับภาวะซึมเศร้าเพิ่มขึ้น ซึ่งคล้ายกับการศึกษาของ Christensen และคณะ ที่พบว่าสตรีตั้งครรภ์ไม่ตั้งใจมีภาวะซึมเศร้าในระยะหลังคลอด ร้อยละ 10.2...

การยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ผิดกฎหมาย โดย ศ.ดร.ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ

0
การยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ผิดกฎหมาย โดย ศ.ดร.ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ ปัญหาเรื่องการทำแท้งในเมืองไทยเป็นปัญหาที่ถกเถียงกันไปได้ไม่รู้จบ ยิ่งหากยกเอาเรื่องศีลธรรมขึ้นมากล่าวอ้างถกเถียงกันไปมา โดยไม่เคยฟังคนที่ตั้งครรภ์เลยว่าเขาคิดอย่างไร ในขณะที่รัฐก็ออกกฎหมายบังคับเอากับหญิงที่ไปทำแท้ง ทำให้เกิดความรู้สึกว่า แม้โดยส่วนตัวผมเองจะไม่สนับสนุนให้มีการทำแท้ง แต่เห็นว่า การยุติการตั้งครรภ์อันไม่พึงปราถนานั้น เป็นสิทธิอันชอบธรรมของหญิง ในเมื่อเขาไม่พร้อมที่จะมีจะบังคับให้หญิงอุ้มท้องต่อไป โดยที่รัฐก็ไม่ได้ยื่นมือเข้ามาช่วยเลย จึงขาดความชอบธรรมที่จะลงโทษหญิงที่ไปทำแท้ง ... ที่มา : การยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ผิดกฎหมาย โดย ศ.ดร.ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ วารสารการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมฉบับ ตุลาคม - ธันวาคม...

การเผชิญปัญหาของครอบครัวที่มีวัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่พร้อม

0
การเผชิญปัญหาของครอบครัวที่มีวัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่พร้อม สุจิตรา ขุนน้อย เสาวคนธ์ วีระศิริ บทคัดย่อ การวิจัยเชิงบรรยายมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเผชิญปัญหาของครอบครัวที่มีวัยรุ่นต้ังครรภ์ไม่พร้อม เป็นอย่างไร โดยใช้ทฤษฎีภาวะวิกฤติครอบครัว เครื่องมือเป็นแบบสัมภาษณ์การปรับตัวของครอบครัว แบบมีโครงสร้างและคำถามปลายเปิด ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือโดยการหาค่าความตรงตามเน้ือหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ได้ค่า CVI เท่ากับ 0.78 และนำไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่คล้ายกัน จำนวน 10 ครอบครัว นำมาหาค่าสัมประสิทธิอัลฟาครอนบาคได้เท่ากับ 0.7 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติ...

โครงการวิจัยรูปแบบการจัดระบบบริการ การยอมรับการยุติการตั้งครรภ์โดยใช้ยาในประเทศไทย

0
โครงการวิจัยรูปแบบการจัดระบบบริการ การยอมรับการยุติการตั้งครรภ์โดยใช้ยาในประเทศไทย เรณู ชูนิล ดร.วรรณภา นาราเวช บทคัดย่อ การศึกษาเรื่องรูปแบบการจัดระบบบริการและการยอมรับการยุติการตั้งครรภ์โดยใช้ยาในประเทศไทย วัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการจัดระบบริการการยุติการตั้งครรภ์โดยใช้ยา และการยอมรับบริการยุติการตั้งครรภ์โดยใช้ยาของผู้ให้บริการและผู้รับบริการ อันจะนำไปสู่แนวทางในการพัฒนาการจัดระบบริการและการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพต่อไป วิธีการศึกษาใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม กลุ่มเป้าหมายคือ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (key informants) ทั้งผู้ให้บริการ ได้แก่ แพทย์ พยาบาล นักสังคมสงเคราะห์ ผู้รับบริการ รวมทั้งผู้แทนองค์กรที่เกี่ยวข้องกับระบบบริการยุติการตั้งครรภ์โดยใช้ยารวม 30 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content...

โครงการวิจัยประเมินการใช้ยามิฟิพริสโตน (Mifepristone) และ ไมโซพรอสตอล (Misoprostol) ชนิดบรรจุในแผงเดียวกันเพื่อยุติการตั้งครรภ์ หลังได้รับการขึ้นทะเบียนยาในประเทศไทย

0
โครงการวิจัยประเมินการใช้ยา มิฟิพริสโตน (Mifepristone) และ ไมโซพรอสตอล (Misoprostol) ชนิดบรรจุในแผงเดียวกันเพื่อยุติการตั้งครรภ์ หลังได้รับการขึ้นทะเบียนยาในประเทศไทย นายแพทย์ประวิช ชวชลาศัย สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย บทคัดย่อ การศึกษาประเมินการใช้ยามิฟิพริสโตนและไมโซพรอสตอลชนิดบรรจุในแผงเดียวกันเพื่อยุติการตั้งครรภ์หลัง ได้รับการขึ้นทะเบียนยาในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การใช้ยาและผลการใช้ยามิฟิพริสโตน และไมโซพรอสตอลชนิดบรรจุในแผงเดียวกันเพื่อยุติการตั้งครรภ์เมื่ออยู่ในระบบบริการปกติของหน่วยบริการหลังได้รับ การขึ้นทะเบียนยาในประเทศไทย วิธีการศึกษาเป็นการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive study) เก็บข้อมูล จากแบบบันทึกข้อมูลในรายงาน MTP-03-2 และแบบฟอร์มรายงานการยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์ กลุ่มเป้าหมาย คือผู้ที่มารับบริการการใช้ยาช่วงระหว่างเดือนมกราคม...

Facebook Live : ยุติการตั้งครรภ์ ทำแท้ง ชีวิตจริงผ่านสายปรึกษาท้องไม่พร้อม

0
ยุติการตั้งครรภ์ ทำแท้ง ชีวิตจริงผ่านสายปรึกษาท้องไม่พร้อม โดย นายสมวงศ์ อุไรวัฒนา ผู้รับผิดชอบ 1663 สายด่วนปรึกษาเอดส์และท้องไม่พร้อม ระหว่าง 1 ต.ค. 58 – 30 มิ.ย. 61 มีผู้มารับบริการปรึกษาจากสายด่วน 1663 เรื่องท้องไม่พร้อม จำนวน 52,370 ราย รู้ว่าตั้งครรภ์แล้ว 29,191...

สรุปผลการประชุมคณะทำงานเว็บไซต์ คร้ังที่ 1

1
เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 61 ที่ผ่านมา โครงการพัฒนาเครือข่ายบริการทางเลือกสำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม จัดประชุมคณะทำงานเว็บไซต์ rsathai.org  ครั้งที่ 1 ณ ห้องประชุมภูเก็ต ร้านอาหาร Cabbages & Condom สมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน สุขุมวิท 12 กรุงเทพฯ ผู้เข้าร่วมประชุมทั้งสิ้นจำนวน 15 คน ประกอบไปด้วย ที่ปรึกษาเว็บไซต์...

สถานการณ์และข้อท้าทายเรื่องการทำแท้งในประเทศไทย โดย รศ.ดร.กฤตยา อาชวนิจกุล ผู้ประสานงานเครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม

0
ปัญหาหลักเรื่องทำแท้งในสังคมไทยตั้งแต่ในอดีตถึงปัจจุบันมีประเด็นสำคัญ 2 ประการคือ ประการแรกเกี่ยวกับวิธีคิดที่ฝังอยู่ในกฎหมายอาญาของไทย ที่มองว่าการทำแท้งเป็นอาชญากรรม และผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมและไปทำแท้งคืออาชญากร มีความผิดตามมาตรา 301 ซึ่งเป็นมาตราเดียวในประมวลกฎหมายอาญาที่ลงโทษเฉพาะผู้หญิงเท่านั้น มาตราอื่นๆเกี่ยวกับการทำผิดต่างๆ จะใช้คำว่า ‘บุคคล’ ซึ่งหมายรวมถึงทั้งผู้หญิงและผู้ชาย มาตรานี้ลงโทษผู้หญิงทั้งๆที่ไม่มีผู้เสียหาย เพราะเป็นการตัดสินใจกระทำต่อร่างกายของตนเอง ภาษาอังกฤษว่า victimless crime สิ่งที่เครือข่ายต้องการขับเคลื่อนคือต้องการยกเลิกมาตรา 301 นี้ แต่โดยส่วนตัวอยากให้ยกเลิกกฎหมายเกี่ยวกับการทำแท้งออกไปหมดคือ มาตรา 301-305...

สรุปการประชุมสามัญประจําปี 2562 เครือข่ายอาสา RSA (Referral system for Safe Abortion)

1
โครงการพัฒนาเครือข่ายบริการทางเลือกที่ปลอดภัยและเป็นมิตร สําหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข โดยการสนับสนุนงบประมาณจาก กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จัดการประชุมสามัญประจําปีเครือข่ายอาสา RSA (Referral system for Safe Abortion) ประจําปี 2562 เมื่อวันที่ 14–15 พฤศจิกายน 2561 ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ สุขุมวิท...

สถิติ : การคลอดของแม่วัยรุ่นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558 Statistics on Adolescent Births, Thailand 2015

0
สถิติ : การคลอดของแม่วัยรุ่นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558Statistics on Adolescent Births, Thailand 2015 โดย สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

อายุครรภ์ของคุณประมาณ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า
ฉันต้องการทำแท้ง
ปรึกษาท้องไม่พร้อม
คำนวณอายุครรภ์
คำถามที่พบบ่อย