5 ข้อเรียกร้อง เพื่อแก้ไขปัญหาการเข้าไม่ถึงบริการยุติการตั้งครรภ์ในช่วงโควิด-19

0
วันนี้ ศุกร์ที่ 15 พฤษภาคม 2563 เครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม ร่วมกับองค์กรภาคีเครือข่ายภาคประชาสังคม (ไทยและต่างประเทศ) 55 องค์กร และผู้ร่วมลงช่ือสนับสนุนในเว็บไซต์ Change.org และลงช่ือกับกลุ่มทำทางรวม 569 รายช่ือ ยื่นหนังสือข้อเรียกร้อง ต่อกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ขอให้พิจารณาออกมาตรการเร่งด่วน เพื่อแก้ไขปัญหาการเข้าไม่ถึงบริการยุติการตั้งครรภ์ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19ปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ที่เกิดขึ้นได้ส่งผลกระทบเป็นอย่างมากต่อการให้บริการด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ซึ่งเป็นบริการสุขภาพที่มีความสำคัญ และจำเป็นบริการหนึ่งซึ่งไม่สามารถจะหยุดดำเนินการ หรือชะลอการดำเนินการได้ โดยสถานบริการสุขภาพ...

มิติ 3 ด้านที่น่ากลัว เศรษฐกิจ ท้องไม่พร้อม คุณภาพชีวิต

0
เศรษฐกิจ : ข้อมูลล่าสุด!! จากข้อมูลสรุปผลการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร (เดือน มีนาคม พ.ศ. 2563) โดย สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พบว่า จากการรวบรวมข้อมูล 1-12 มีนาคม พ.ศ. 2563 ผู้มีอายุ 15 ปีขึ้นไป มีจำนวน 56.77 ล้านคน เป็นผู้ที่อยู่ในกำลังแรงงานมีจำนวนทั้งสิ้น 38.21...

ข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติ เก่ียวกับการยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์

0
https://www.youtube.com/watch?v=IElZPnac2vo&feature=youtu.be โครงการเครือข่ายบริการทางเลือกสำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม จัดการเสวนาเชิงนโนบาย ผ่าทางตันกฎหมายทำแท้งไทย "ทำแท้งมิใช่ความอาญา แต่คือบริการสุขภาพ !! " เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2563 ณ อาคารสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข  เพื่อสร้างความเข้าใจต่อกฎหมายอาญาที่เกี่ยวช้องกับการยุติการตั้งครรภ์ วิเคราะห์สถานการณ์และประเด็นต่างๆ จากกรณีศึกษา และแลกเปลี่ยนทัศนะในเรื่องกฎหมายและการยุติการตั้งครรภ์ ประชาสัมพันธ์ความร่วมมือของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แพทยสภา และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  ในช่วงที่ผ่านมา พบว่าอุปสรรคด้านหนึ่งของการให้บริการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย คือ ข้อกฎหมายที่ยังไม่มีความชัดเจน...

ต้องรู้ !! การทำแท้งในประเทศไทยไม่ได้ผิดกฎหมายทั้งหมด

1
การทำแท้งในประเทศไทยไม่ได้ผิดกฎหมายทั้งหมด กฎหมายอนุญาตให้ผู้หญิงสามารถตัดสินใจทำแท้งได้โดยแพทย์ โดยมีข้อบ่งชี้เหตุผลทางการแพทย์เพื่อสุขภาพและชีวิตของหญิงตั้งครรภ์ รวมทั้งการตั้งครรภ์ที่เกิดจากความผิดทางเพศ ดังต่อไปนี้ 1. การตั้งครรภ์นั้นส่งผลเสียต่อชีวิตหรือสุขภาพทางกายของผู้หญิง 2. การตั้งครรภ์ที่เกิดจากการถูกข่มขืนกระทำชำเรา  3. การตั้งครรภ์ในเด็กหญิงที่อายุไม่เกิน 15 ปี ไม่ว่าหญิงนั้นจะสมยอมหรือไม่ก็ตาม 4. การตั้งครรภ์มาจากเหตุล่อลวง บังคับ หรือข่มขู่ เพื่อทำอนาจาร สนองความใคร่  5. การตั้งครรภ์นั้นส่งผลเสียต่อสุขภาพทางใจของผู้หญิง (เพิ่มเติมในข้อบังคับแพทยสภา พ.ศ. 2548 ขยายความ ”สุขภาพ” ให้ครอบคลุมทางกายและใจ แต่ยังไม่ถูกระบุไว้ในกฎหมาย) 6....

ข้อจำกัดของ “วงสาธารณะ” : การตัดสินเชิงศีลธรรมและการตีตราประณาม – ท้องไม่พร้อม

0
ปรากฏการณ์ท้องไม่พร้อมและการเลือกยุติการตั้งครรภ์เป็นเรื่องที่คนเผชิญสถานการณ์หรือมีประสบการณ์มาก่อนเลือกที่จะไม่พูดถึง หรือเปิดเผยกับคนทั่วไป ทัศนัย ขันตยาภรณ์ กล่าวถึงแนวโน้มของคนที่จะไม่พูดถึงประสบการณ์นี้ว่า "เรื่องนี้มันเป็นเรื่องไม่พูดกัน...ส่งผลทำให้คนมีโอกาสที่จะแสวงหาองค์ความรู้เรื่องนั้นน้อย เพราะฉะนั้น (คนที่ไม่เคยเชิญสถานการณ์) พูดบนข้อจำกัดของตัวเอง ในส่วนที่ตัวเองรับรู้มา..กรอบหนึ่งมันเป็นกรอบเรื่องของกฎหมาย อย่างที่ว่า ถ้าคนไม่รู้จริงเรื่องกฎหมาย ก็จะคิดว่ามันเป็นเรื่องที่ผิดหมดเลยเรื่องแบบนี้…ผู้หญิงที่ประสบปัญหาตรงนี้เขาไม่ลุกมาพูด เพราะมันเป็นเรื่องที่ผ่านมาแล้ว จบก็ต้องการให้มันจบ จบแบบไม่มีใครรู้ด้วย.. เลยไม่ได้เกิดการพูดต่อเนื่องไป…ตัวของผู้ที่ประสมปัญหาเองก็ไม่ต้องการที่จะทำให้เป็นเรื่องสาธารณะด้วย ก็ไม่เปิดโอกาสให้คนอื่นเรียนรู้ชีวิตของคนที่ประสบมาด้วย จะต่างจากเอตส์ (ที่ผู้ติดเชื้อได้นำเสนอหรือแลกเปลี่ยนประสบการณ์ให้คนอื่นๆ ในสังคมได้รับรู้)" *(ทัศนัย ขันยาภรณ์ ,...

ผู้ใหญ่-เยาวชน ใส่ใจ และลงมือทำ : บทเรียนทำงานป้องกันตั้งครรภ์วัยรุ่นในพื้นที่ (2)

0
ในส่วนที่สามคือการทำงานของเยาวชน ที่จังหวัดภูเก็ตพบว่า เยาวชนหรือวัยรุ่นที่อยู่ในสถานการณ์การตั้งครรภ์อยากพูดคุยและปรึกษากับเพื่อนๆ ในวัยเดียวกันมากกว่าอยากคุยกับผู้ใหญ่ จังหวัดจึงได้พัฒนารูปแบบการให้คำปรึกษาเรื่องตั้งครรภ์ไม่พร้อมโดยให้แกนนำเยาวชนเป็นที่ปรึกษา หรือช่วยเหลือเพื่อนที่ต้องการความช่วยเหลือ ซึ่งภายหลังพบว่าแนวทางดังกล่าวช่วยลดอัตราการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นในพื้นที่ได้จริง นอกจากนี้ ในการทำงานของสภาเด็กและเยาวชน ซึ่งมีทั้งในระดับตำบล อำเภอ จังหวัด และระดับประเทศ ได้ให้ความสำคัญและขับเคลื่อนประเด็นการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นด้วย ดังการทำงานของในสภาเด็กและเยาวชน ต.บางสีทอง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี ที่เน้นการทำกิจกรรมร่วมกันของเยาวชนในทุกๆ เดือน นำไปสู่การมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกันเหมือนเป็นครอบครัวเดียวกัน ช่วยลดความเสี่ยงในการตั้งครรภ์เพราะมีกิจกรรมร่วมกันสม่ำเสมอ ส่วนที่สภาเด็กและเยาวชน อ.ศรีนครินทร์...

ผลการศึกษาทางคลินิกของการยุติการตั้งครรภ์ด้วยยา โดยองค์การอนามัยโลกใน 10 ประเทศทั่วโลก

0
การศึกษาโดยองค์การอนามัยโลกเป็นการศึกษาแบบ Randomized rontrolled trial เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของการใช้ยาในการยุติการตั้งครรภ์ (ยาทำแท้ง) ด้วยการกินยามิฟิพริสโตน 200 มิลลิกรัม จากนั้น 2 ชั่วโมง ตามด้วยยาไมโซโพรสตอลขนาด 400 หรือ 800 ไมโครกรัม ใช้เหน็บซ่องคลอด หรืออมใต้ลิ้น โดยทำการศึกษาใน 15 คลินิก ในแผนกสูติศาสตร์-นรีเวชกรรมใน 10...

การประชุมเครือข่ายอาสาส่งต่อยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย (RSA) ภาคอีสาน

0
เมื่อวันที่ 14 – 15 สิงหาคม 2562 ที่ผ่านมา สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จัดการประชุมเครือข่ายอาสาส่งต่อยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย (RSA) ภาคอีสาน ณ โรงแรมริเวอร์ ซิตี้มุกดาหาร โดยการสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โครงการพัฒนาเครือข่ายบริการทางเลือกที่ปลอดภัยและเป็นมิตร สำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม โดยมีเป้าหมายให้การดำเนินงานเครือข่ายอาสา RSA (Referral system...

ผู้ใหญ่-เยาวชน ใส่ใจ และลงมือทำ : บทเรียนทำงานป้องกันตั้งครรภ์วัยรุ่นในพื้นที่ (1)

0
พระราชบัญญัติป้องกันแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.๒๕๕๙ มีสาระสำคัญให้กระทรวงหลัก ๕ กระทรวง ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงแรงงาน กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมกันทำงานแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมของวัยรุ่น โดยมีหลักการอยู่บนฐานของการเคารพสิทธิและศักดิ์ศรีของวัยรุ่น กล่าวคือวัยรุ่นต้องได้รับการปกปิดข้อมูลส่วนตัวและการรับบริการเป็นความลับ สามารถตัดสินใจด้วยตนเอง ได้รับข้อมูลอย่างเพียงพอ และเข้าถึงการรับบริการโดยมีสวัสดิการของรัฐรองรับ การประกาศใช้ พ.ร.บ. ฉบับดังกล่าวได้ปรับเปลี่ยนการทำงานเรื่องการแก้ไขปัญหาตั้งครรภ์วัยรุ่น เพราะทำให้หลายๆ หน่วยงานในพื้นที่ เช่น องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด...

สปสช. จัดสรรงบเพิ่มยายุติการตั้งครรภ์

0
“สปสช. จัดสรรงบเพิ่มยายุติการตั้งครรภ์” อ่านแล้วสงสัยไหม? ขอขยายความแบบนี้นะ… ยายุติการตั้งครรภ์ (Medabon) ขึ้นทะเบียนในประเทศไทยเมื่อปลายปี 2557 และกระจายไปใช้ในโรงพยาบาลที่ขึ้นทะเบียนการใช้ยากับกรมอนามัย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) รายงานว่า อัตราการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัยในประเทศไทยลดลงอย่างต่อเนื่อง ข้อมูลพบว่า ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัยลดลง 12 ล้านบาทในปี 2558 และลดต่อเนื่องในปี 2559 ถึง 20 ล้านบาท สรุปคือ...

อายุครรภ์ของคุณประมาณ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า
RSA Prompt คืออะไร
ปรึกษาท้องไม่พร้อม
คำนวณอายุครรภ์
คำถามที่พบบ่อย