มุมมองของแพทย์ต่อการทำแท้งที่ปลอดภัย
นำทีมโดย ศ.คลินิกเกียรติคุณ พญ.วิบูลพรรณ ฐิตะดิลก ศ.เกียรติคุณ นพ.สมศักดิ์ โล่ห์เลขา นพ.พิษณุ ขันติพงษ์ และ ผศ.นพ.ธนพันธ์ ชูบุญ
“งานช่วยเหลือท้องไม่พร้อม ต้องเริ่มที่เรื่องของทัศนคติ/มุมมอง ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งสำคัญ กฎหมายอาญาและข้อบังคับแพทยสภาได้ระบุชัดเจน ให้สามารถทำแท้งได้ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด โดยปัจจัยสำคัญในการตัดสินใจของแพทย์ก็จะแตกต่างกันออกไป ซึ่ง "ทัศนคติ" จะเป็นตัวกำหนดว่าเห็นด้วย/ไม่เห็นด้วย”
หากปรับเปลี่ยนทัศนคติได้ ก็จะสามารถให้บริการได้ “แพทย์ควรมองว่าคนที่ตั้งครรภ์ คือคนที่กำลังทุกข์ ต้องการรักษา...
การบาดเจ็บการตายจากการทำแท้งเถื่อนยังมีอยู่จริง
Sex symposium มันมีชื่อไทยว่า “การประชุมระดับชาติ สุขภาวะทางเพศ ครั้งที่ ๓ การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จากยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติที่ยั่งยืน” จะยาวไปไหนวะ มันถูกจัดขึ้นมาโดย สสส. และหน่วยงานใหญ่ๆร่วมด้วยอีกหลายหน่วยงาน เค้าเชิญผมมาร่วมในการบรรยายในหัวเรื่อง “มุมมองของแพทย์ต่อการทำแท้งที่ปลอดภัย”
“ชื่อเชยจังครับอาจารย์” ผมบอกกับอาจารย์ที่เคารพรักในฐานะที่ท่านจะเป็นผู้ดำเนินรายการในช่วงผม ท่านเคยเป็นประธานราชวิทยาลัยสูติฯ ของผมเอง ท่านบอกว่า กลัวคนไม่เข้าฟัง
“ก็เล่นตั้งขื่อเสียแบบนี้” ผมยังไม่เลิก“แล้วแป๊ะจะตั้งขื่อว่าอย่างไร” เลยถูกท่านย้อนกลับ“หมอ ช่วยหนูด้วย หนูท้อง” ผมเสนอ
ห้องของผม...
สำนักงานคณะการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ย้ำ “วัยรุ่นท้อง ต้องได้เรียนต่อ”
สพฐ. ย้ำ “วัยรุ่นท้อง ต้องได้เรียนต่อ” หลักการของสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) คือ เมื่อนักเรียนตั้งครรภ์-เด็กต้องได้เรียนต่อ ด้วยการปรึกษากับครอบครัว ร่วมกันจัดการเงียบๆ อย่างเหมาะสม เมื่อคลอดแล้วกลับมาเรียน ประคับประคองให้สามารถเลี้ยงดูได้อย่างดี ต้องไม่ทิ้งเด็ก ช่วยให้เด็กก้าวผ่านวิกฤตและได้ประโยชน์สูงสุด
หากสำนักงานพื้นที่การศึกษาเขตจัดการไม่ได้ ขอให้ประสานระดับเขต โดยทางโรงเรียนอาจช่วยเด็กและครอบครัวประสานสำนักงานพัฒนาสังคมฯ จังหวัด กรณีไม่สามารถเลี้ยงลูกได้ด้วยตนเอง เพื่อขอความช่วยเหลือในด้านต่างๆ ที่จำเป็น
นอกจากการช่วยเหลือแล้ว ยังร่วมกันกับทุกฝ่าย พัฒนาหลักสูตรและกิจกรรมเรื่องเพศเพื่อส่งเสริมการป้องกัน ร่วมกับ...
กระทรวงศึกษาธิการ ได้นำพ.ร.บ. ตั้งครรภ์วัยรุ่นสู่การปฏิบัติ อย่างไร ?
นำทีมโดย นายพีระ รัตนวิจิตร รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ หลังจากการบังคับใช้กฎหมายจาก พ.ร.บ. การป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เพื่อนำนโยบายสู่การปฏิบัติ เด็กในระบบการศึกษา มีส่วนเกี่ยวข้องครอบคลุมทุกระบบการศึกษา
จากระบบข้อมูลของกระทรวงศึกษาธิการ พบว่า เด็กขาดการดูแลอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปฐมวัย ในแต่ละปีมีเด็กเกิด 600,000 - 700,000 คน โดยเกิดจากแม่วัยใส 100,000 คน ซึ่งคุณแม่วัยใสขาดทั้งไอโอดีน ธาตุเหล็ก ส่งผลกระทบถึงเด็กปฐมวัย คิดว่า...
สาระการประชุมจากห้อง Overview of adolescent health and teenage pregnancy: from global analysis to community actions
วัยรุ่น มีความสามารถที่จะเปลี่ยนแปลงอนาคตของโลกได้ สิ่งสำคัญคือ การสร้างความมั่นใจว่าวัยรุ่นจะได้รับการสนับสนุนในด้านต่างๆ ที่จะช่วยให้พวกเขามีสุขภาพที่ดีได้จริง การทำความเข้าใจกับสุขภาพวัยรุ่น จึงมีความสำคัญ
ผู้เชี่ยวชาญเสนอว่า การลงทุนที่วัยรุ่นมีความสำคัญได้ผลตอบแทน 3 เท่า คือ ปัจจุบันที่สุขภาพดี เป็นผู้ใหญ่ที่สุขภาพดี และเป็นพ่อแม่ที่มีลูกสุขภาพดี
การพัฒนาสุขภาพวัยรุ่น ควรทำความเข้าใจประเด็นสุขภาพวัยรุ่นให้ถ่องแท้ในมุมของวัยรุ่น ซึ่ง “ท้องไม่พร้อม” ก็คือปัญหาสุขภาพด้านหนึ่ง การศึกษาโดย LANCET พบว่า สำหรับวัยรุ่น “เพื่อน” และ...
การแก้กฎหมายทำแท้งให้เป็นธรรมไปถึงไหน
เครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมในฐานะตัวแทนของผู้หญิง และเครือข่ายอาสา RSA ในฐานะตัวแทนของผู้ให้บริการทางสุขภาพ เห็นว่ามาตรา 301 และ 305 แห่งประมวลกฎหมายอาญานั้นละเมิดต่อรัฐธรรมนูญ จึงได้ดำเนินการต่อไปนี้
1) ใช้สิทธิตามมาตรา 46 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561 ส่งเรื่องร้องเรียนเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2561 ให้ผู้ตรวจการแผ่นดินพิจารณาดำเนินการส่งเรื่องไปให้ศาลรัฐธรรมนูญ
2) สำนักผู้ตรวจการแผ่นดินมีจดหมายแจ้งกลับเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2561...
การประชุมเครือข่ายอาสาส่งต่อยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย (RSA) ภาคใต้ ณ โรงแรมหรรษา เจบี อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
เมื่อวันที่ 21 -22 มกราคม 2562 ที่ผ่านมา โครงการพัฒนาเครือข่ายบริการทางเลือกสำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม โดยสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส. จัดการประชุมเครือข่ายอาสาส่งต่อยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย (RSA) ภาคใต้ ณ โรงแรมหรรษา เจบี อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
มีเป้าหมายเพื่อขยายแนวคิดและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ตลอดจนเป็นการสร้างเครือข่ายการทำงาน ระหว่างการให้บริการปรึกษาทางเลือก การตั้งครรภ์ต่อ และการส่งต่อบริการยุติการตั้งครรภ์ที่เข้าถึงได้ของเครือข่ายในเขตจังหวัดภาคใต้...
9 ข้อมูลสำคัญที่ต้องรู้หากเลือกยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย
เมื่อพิจารณาอย่างรอบคอบแล้วว่าตัวเองยังไม่มีความพร้อมที่จะตั้งครรภ์ต่อไปได้ เพื่อให้ปลอดภัยกับผู้หญิงมากที่สุด ควรเลือกยุติเมื่อตั้งท้องไม่เกิน 12 สัปดาห์ เพราะสามารถทำได้ที่คลินิก หากเกินกว่านั้นต้องรับบริการที่โรงพยาบาล และสามารถยุติได้จนถึงอายุครรภ์ที่ 24 สัปดาห์ เทคโนโลยีทางการแพทย์ในปัจจุบันสามารถช่วยให้การยุติการตั้งครรภ์เป็นไปอย่างปลอดภัย ที่สำคัญการยุติการตั้งครรภ์ในประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นการใช้ยา หรือเครื่องดูดสุญญากาศ จะต้องให้บริการโดยแพทย์
9 ข้อมูลสำคัญที่ต้องรู้หากเลือกยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย
ข้อมูลที่ 1 การยุติการตั้งครรภ์มีความปลอดภัยมีผลข้างเคียง และเสี่ยงต่อชีวิตน้อยกว่าการคลอดบุตร แต่ความเสี่ยงจะมากหากไปทำแท้งไม่ปลอดภัย เช่น การซื้อยาทางอินเทอร์เน็ต การรับบริการกับผู้ให้บริการไม่ใช่แพทย์ด้วยวิธีการที่ไม่ปลอดภัย เป็นต้น
ข้อมูลที่ 2 การยุติการตั้งครรภ์ที่อายุครรภ์ยิ่งน้อย...
Live “การยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยด้วยการใช้ยามิฟิพริสโตนและไมโซพรอสตอลที่บรรจุในแผงเดียวกัน (Medabon) และกระบอกดูดสุญญากาศ (Manual Vacuum Aspiration: MVA)” โดย ผศ.นพ.ธนพันธ์ ชูบุญ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Facebook Live "การยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยด้วยการใช้ยามิฟิพริสโตนและไมโซพรอสตอลที่บรรจุในแผงเดียวกัน (Medabon®) และกระบอกดูดสุญญากาศ (Manual Vacuum Aspiration: MVA)" โดย ผศ.นพ.ธนพันธ์ ชูบุญ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
https://www.youtube.com/watch?v=A1QwTNhYJLc
โครงการพัฒนาเครือข่ายบริการทางเลือกที่ปลอดภัยและเป็นมิตร สำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม กำหนดจัดประชุมเครือข่ายอาสาส่งต่อยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย (RSA) ภาคใต้ ระหว่างวันที่ 21 – 22 มกราคม 2562 ณ โรงแรมหรรษา เจบี...
เพิ่มเงินสงเคราะห์บุตรจากเดิม 400 บาท เป็น 600 บาท เริ่มจ่ายวันที่ 31 ม.ค. 62 เป็นต้นไป
สำนักงานประกันสังคมเพิ่มเงินสงเคราะห์บุตรจากเดิม 400 บาท เป็น 600 บาท ให้แก่ผู้ประกันตน โดยจะเริ่มจ่ายในวันที่ 31 ม.ค.2562 เป็นต้นไป
เมื่อวันที่ 9 ม.ค. 2562 พล.ต.อ.อดุลย์ แสงสิงแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน เปิดเผยถึง การเพิ่มเงินสงเคราะห์บุตรจากสำนักงานประกันสังคมจากเดิม 400 บาท เป็น 600 บาท...