ยุติการตั้งครรภ์ 

เมื่อผู้ประสบปัญหาตั้งครรภ์ไม่พร้อมไม่สามารถตั้งครรภ์ต่อไปได้ จำเป็นต้องทำให้ทางเลือกยุติการตั้งครรภ์เข้าถึงได้และปลอดภัยเพื่อมิให้เกิดความเสี่ยงต่อการไปสู่บริการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัย การซื้อยาทำแท้งทางอินเทอเน็ต

Live แนวนโยบายของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขต่อการยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์

0
https://youtu.be/kCeLUZWPjj0 นพ.บัญชา ค้าของ รองอธิบดีกรมอนามัย กล่าวว่า กรมอนามัยเล็งเห็นความสำคัญในการลดอันตรายของภาวะแทรกซ้อนจากการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย และการพัฒนาการเข้าถึงบริการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยด้วยยาในประเทศไทยจึงพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อให้สามารถจัดบริการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยในระบบบริการสุขภาพอย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนผลักดันให้เกิดเครือข่ายอาสาส่งต่อยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย ทั้งนี้ มาตรา 305 กำหนดข้อยกเว้นให้แพทย์ทำการยุติการตั้งครรภ์ให้หญิงมีครรภ์ได้ 2 กรณี คือ 1. มีความจำเป็นเนื่องจากสุขภาพของหญิง หรือ 2. หญิงมีครรภ์เนื่องจากการกระทำความผิดอาญา เช่น กรณีผู้หญิงถูกล่วงละเมิดทางเพศ อย่างไรก็ตาม ความไม่พร้อมของผู้หญิงเกิดจากหลายปัจจัย  ซึ่งบางปัจจัยอาจไม่ได้เกี่ยวข้องกับกฎหมาย...

Thailand Celebrating Abortion Rights เนื่องในวันยุติการตั้งครรภ์สากล International Safe Abortion Day เดือนกันยายน 2564

0
วันที่ 28 กันยายน ของทุกปี นานาชาติจัดให้เป็นวันยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยสากล เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้สังคมโลกตระหนักต่อสิทธิของผู้หญิงในการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย ด้วยการกำจัดอุปสรรคต่าง ๆ ทั้งในด้านกฎหมาย ระบบบริการ และทัศนคติของสังคม ที่ทำให้ผู้หญิงเข้าไม่ถึงบริการจนเกิดการบาดเจ็บและตายจากการทำแท้งไม่ปลอดภัย ในปีที่ผ่านมาพบว่า มีความก้าวหน้าของการปรับแก้กฎหมายที่สำเร็จในหลายประเทศ เช่น อาเจนติน่า เกาหลีใต้ เอควาดอร์ ออสเตรเลีย รวมทั้งประเทศไทย คำขวัญสำหรับการรณรงค์ในปี 2564 นี้ คือ Safe...

คำแนะนำ และข้อควรปฎิบัติในการใช้ชีวิตหลังยุติการตั้งครรภ์

0
ผู้หญิงหลายคนในโลกนี้มีประสบการณ์ยุติการตั้งครรภ์เช่นเดียวกับเรา แม้ว่าจะไม่ใช่ประสบการณ์ที่ดีนัก หรืออาจเลวร้าย แต่ก็ทำให้เราเรียนรู้และเข้าใจโลกมากยิ่งขึ้น ทำให้เราใช้ชีวิตได้อย่างระมัดระวังและเข้าใจมากขึ้น สิ่งที่ควรทำหลังยุติการตั้งครรภ์ให้กินยาที่ได้รับอย่างถูกต้องและครบถ้วน หากมีอาการปวดท้องให้กินยาแก้ปวดได้โดยใช้ยาพาราเซตามอล 500 มิลลิกรัม กิน 2 เม็ด ทุก 6 ชั่วโมง โดยเริ่มทำกิจวัตรประจำวันตามปกติ เมื่อรู้สึกสบายดีขึ้นแล้วห้าม วางกระเป๋าน้ำร้อนบนหน้าท้องในวันแรกของการรักษาแต่ให้วางกระเป๋าน้ำแข็งแทนกรณีมีเลือดออกมากงด กินยาขับเลือดหรือยาดองเหล้าทุกชนิดหลีกเลี่ยง กิจกรรมที่ต้องออกแรงมากๆ เช่น ยกของหนัก หรือออกกำลังกายหนักๆ ประมาณ 1-2...
Doctor holding a pill

ข้อมูลเบื้องต้นของยายุติตั้งครรภ์ ยาทำแท้ง

2
องค์การอนามัยโลกได้ให้นิยาม “การยุติตั้งครรภ์โดยใช้ยา” (Medical Termination of  Pregnancy: MTP) ที่มีประสิทธิภาพ หมายถึง การทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงโดยไม่ต้องใช้วิธีการทางหัตถการอื่นๆ เช่น การใช้เครื่องดูดสุญญากาศ หรือการขูดมดลูก เพื่อทำให้แท้งครบ (complete abortion) การยุติตั้งครรภ์โดยใช้ยามิฟิพริสโตน (Mifepristone) หรือที่รู้จักกันทั่วไปในนาม RU486 ร่วมกับ ยาไมโซพรอสตอล (Misoprostol) ในผู้หญิงที่มีอายุครรภ์ไม่เกิน 49...

ม.301 และ 305 ในมุมของแพทย์ผู้ให้บริการ

1
https://youtu.be/1C1YK52QLBQ โครงการเครือข่ายบริการทางเลือกสำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม จัดการเสวนาเชิงนโนบาย ผ่าทางตันกฎหมายทำแท้งไทย "ทำแท้งมิใช่ความอาญา แต่คือบริการสุขภาพ !! " เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2563 ณ อาคารสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข เพื่อสร้างความเข้าใจต่อกฎหมายอาญาที่เกี่ยวช้องกับการยุติการตั้งครรภ์ วิเคราะห์สถานการณ์และประเด็นต่างๆ จากกรณีศึกษา และแลกเปลี่ยนทัศนะในเรื่องกฎหมายและการยุติการตั้งครรภ์ ประชาสัมพันธ์ความร่วมมือของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แพทยสภา และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในช่วงที่ผ่านมา พบว่าอุปสรรคด้านหนึ่งของการให้บริการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย คือ...

การยุติการตั้งครรภ์ด้วยยา Medabon (ยาทำแท้ง) ในประเทศไทย

0
ปี 2555 ประเทศไทยได้นำยายุติการตั้งครรภ์ หรือ Medabon ซึ่งมีตัวยยามิฟิพริสโตน (หรือที่รู้จักในชื่อการค้า RU486) และ ไมโซโพรสตอล (ไซโตเทค) บรรจุในแผงเดียวกัน เพื่อใช้ในโครงการศึกษาวิจัยนำร่อง ผลการวิจัยพบว่า ยา Medabon มีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยในการยุติตั้งครรภ์มากกว่าร้อยละ 95 กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ขึ้นทะเบียนยาตัวนี้ และบรรจุยาไว้ในบัญชียาหลักแห่งชาติเพื่อใช้ในทางการแพทย์ และเป็นยาที่สั่งจ่ายโดยแพทย์เท่านั้น มีให้บริการเฉพาะที่สถานพยาบาลที่ขึ้นทะเบียนสมัครรับยาจากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขเท่านั้น ไม่สามารถหาซื้อยาทำแท้งได้จากร้านยา...

ขั้นตอนการเข้ารับการยุติการตั้งครรภ์โรงพยาบาลสิงห์บุรี

0
Ep.1 VLOG เจาะลึกขั้นตอนการเข้ารับการยุติการตั้งครรภ์@ร.พ.สิงห์บุรี | SCORA X RSA : All about abortion https://www.youtube.com/watch?v=0gZQx30PHYc&t=623s ช่องทางการติดตาม Facebook : https://facebook.com/SCORAThailandYoutube : https://www.youtube.com/channel/UC2RfVhA4xlim7ZuAJrJUZggขอขอบคุณ : SCORA Thailand โดย สมาพันธ์นิสิตนักศึกษาแพทย์นานาชาติแห่งประเทศไทย (IFMSA-Thailand)

ผลการศึกษาทางคลินิกของการยุติการตั้งครรภ์ด้วยยา โดยองค์การอนามัยโลกใน 10 ประเทศทั่วโลก

0
การศึกษาโดยองค์การอนามัยโลกเป็นการศึกษาแบบ Randomized rontrolled trial เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของการใช้ยาในการยุติการตั้งครรภ์ (ยาทำแท้ง) ด้วยการกินยามิฟิพริสโตน 200 มิลลิกรัม จากนั้น 2 ชั่วโมง ตามด้วยยาไมโซโพรสตอลขนาด 400 หรือ 800 ไมโครกรัม ใช้เหน็บซ่องคลอด หรืออมใต้ลิ้น โดยทำการศึกษาใน 15 คลินิก ในแผนกสูติศาสตร์-นรีเวชกรรมใน 10...
ยาทำแท้ง

สถานะยาทำแท้งในไทย

0
แต่ไหนแต่ไรมาหมอจะรู้จักว่า “ยาทำแท้ง” ที่ใช้กันทั่วไปคือยา Misoprostol ทั้งที่ตอนแรกถูกใช้เป็นยารักษาโรคกระเพาะอาหาร แล้วบังเอิญพบว่ามีฤทธิ์ในการช่วยเพิ่มการบีบตัวของมดลูก จนผู้ใช้คลอดก่อนกำหนดขึ้นมา และมีการมาใช้ทำแท้งในที่สุด ปัจจุบันสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ประกาศให้ยา Misoprostol เป็นยาควบคุมพิเศษที่บริษัทจะขายให้เฉพาะโรงพยาบาลเท่านั้น คลินิกหมอไม่สามารถหามาใช้ได้ แม้ว่ายา Misoprostol จะเป็นยาที่มีประสิทธิผลในการยุติการตั้งครรภ์ที่ดีในระดับหนึ่ง แต่ก็ยังมีโอกาสที่จะยุติการตั้งครรภ์ไม่สำเร็จอีกกว่า 10% นักวิจัยจึงได้หายาต่าง ๆ มาช่วยเสริมฤทธิ์การทำงานของ Misoprostol จนได้พบกับยา RU-486...

อายุครรภ์ของคุณประมาณ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า
RSA Prompt คืออะไร
ปรึกษาท้องไม่พร้อม
คำนวณอายุครรภ์
คำถามที่พบบ่อย