การเผชิญปัญหาของครอบครัวที่มีวัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่พร้อม

0
การเผชิญปัญหาของครอบครัวที่มีวัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่พร้อม สุจิตรา ขุนน้อย เสาวคนธ์ วีระศิริ บทคัดย่อ การวิจัยเชิงบรรยายมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเผชิญปัญหาของครอบครัวที่มีวัยรุ่นต้ังครรภ์ไม่พร้อม เป็นอย่างไร โดยใช้ทฤษฎีภาวะวิกฤติครอบครัว เครื่องมือเป็นแบบสัมภาษณ์การปรับตัวของครอบครัว แบบมีโครงสร้างและคำถามปลายเปิด ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือโดยการหาค่าความตรงตามเน้ือหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ได้ค่า CVI เท่ากับ 0.78 และนำไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่คล้ายกัน จำนวน 10 ครอบครัว นำมาหาค่าสัมประสิทธิอัลฟาครอนบาคได้เท่ากับ 0.7 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติ...

การแก้กฎหมายทำแท้งให้เป็นธรรมไปถึงไหน

0
เครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมในฐานะตัวแทนของผู้หญิง และเครือข่ายอาสา RSA ในฐานะตัวแทนของผู้ให้บริการทางสุขภาพ เห็นว่ามาตรา 301 และ 305 แห่งประมวลกฎหมายอาญานั้นละเมิดต่อรัฐธรรมนูญ จึงได้ดำเนินการต่อไปนี้ 1) ใช้สิทธิตามมาตรา 46 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2561 ส่งเรื่องร้องเรียนเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2561 ให้ผู้ตรวจการแผ่นดินพิจารณาดำเนินการส่งเรื่องไปให้ศาลรัฐธรรมนูญ 2) สำนักผู้ตรวจการแผ่นดินมีจดหมายแจ้งกลับเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2561...

กฎหมายไทย ทำแท้งได้กรณีไหนบ้าง?

1
การทำแท้งในประเทศไทยไม่ได้ผิดกฎหมายทั้งหมด กฎหมายอนุญาตให้ผู้หญิงสามารถตัดสินใจทำแท้งได้โดยแพทย์ โดยมีข้อบ่งชี้เหตุผลทางการแพทย์เพื่อสุขภาพและชีวิตของหญิงตั้งครรภ์ รวมทั้งการตั้งครรภ์ที่เกิดจากความผิดทางเพศ ดังต่อไปนี้ การตั้งครรภ์นั้นส่งผลเสียต่อชีวิตหรือสุขภาพทางกายของผู้หญิงการตั้งครรภ์ที่เกิดจากการถูกข่มขืนกระทำชำเราการตั้งครรภ์ในเด็กหญิงที่อายุไม่เกิน 15 ปี ไม่ว่าหญิงนั้นจะสมยอมหรือไม่ก็ตามการตั้งครรภ์มาจากเหตุล่อลวง บังคับ หรือข่มขู่ เพื่อทำอนาจาร สนองความใคร่การตั้งครรภ์นั้นส่งผลเสียต่อสุขภาพทางใจของผู้หญิง (เพิ่มเติมในข้อบังคับแพทยสภา พ.ศ. 2548 ขยายความ ”สุขภาพ” ให้ครอบคลุมทางกายและใจ แต่ยังไม่ถูกระบุไว้ในกฎหมาย)ทารกในครรภ์มีความพิการ (เพิ่มเติมในข้อบังคับแพทยสภา พ.ศ. 2548 โดยใช้เหตุผลปัญหาสุขภาพทางใจของผู้หญิง แต่ยังไม่ถูกระบุไว้ในกฎหมาย) ผลสำรวจโดยกรมอนามัย...

ความจำเป็นในการจัดหาเครือข่ายRSA

0
วัยรุ่นหญิงและสตรียังบาดเจ็บ มีภาวะจากการแทรกซ้อน และเสียชีวิตจากการทำแท้งเถื่อนที่ไม่ปลอดภัย และราคาแพงในเกือบทุกจังหวัดของประเทศ ทั้งๆ ที่หลายรายมีความจำเป็น และเข้าข่ายการทำแท้งตามกฎหมายโดยแพทย์ได้ แต่หาแพทย์ให้บริการได้ยาก เช่น ผู้ตั้งครรภ์เป็นผู้เยาว์อายุน้อยกว่า 15 ปี การเจ็บป่วยทางกายของผู้หญิง ภาวะทางจิต เครียด ซึมเศร้า ตัวอ่อนในท้องป่วย หรือพิการรุนแรงในครรภ์ การคุมกำเนิดผิดพลาด การถูกข่มขืน/ล่อลวง หรืออื่นๆ และมีผลกระทบต่อสังคม เช่น การทิ้งเด็ก...

ความก้าวหน้าของการยุติตั้งครรภ์ด้วยยา

0
ความก้าวหน้าของการยุติตั้งครรภ์ด้วยยา เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2557 กระทรวงสาธารณสุขเล็งเห็นความสําคัญของเทคโนโลยีการยุติตั้งครรภ์ด้วยยา จึงได้ขอขึ้นทะเบียนยา Mifepristone (RU486) และ Misoprostol (ไซโตเทค) ที่บรรจุในแผงเดียวกัน กับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เพื่อใช้ยุติการตั้งครรภ์ ต่อมาในวันที่ 13 มิถุนายน 2559 คณะอนุกรรมการบัญชียาหลักแห่งชาติพิจารณาคัดเลือกยาทั้งสองชนิดบรรจุไว้ในบัญชียาหลักแห่งชาติ ในบัญชีย่อย จ(1) โดยภายใต้บัญชีย่อยนี้ต้องมีการจัดทําโครงการพิเศษภายใต้หน่วยงานภาครัฐ ซึ่งสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์...

ข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติ เก่ียวกับการยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์

0
https://www.youtube.com/watch?v=IElZPnac2vo&feature=youtu.be โครงการเครือข่ายบริการทางเลือกสำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม จัดการเสวนาเชิงนโนบาย ผ่าทางตันกฎหมายทำแท้งไทย "ทำแท้งมิใช่ความอาญา แต่คือบริการสุขภาพ !! " เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2563 ณ อาคารสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข  เพื่อสร้างความเข้าใจต่อกฎหมายอาญาที่เกี่ยวช้องกับการยุติการตั้งครรภ์ วิเคราะห์สถานการณ์และประเด็นต่างๆ จากกรณีศึกษา และแลกเปลี่ยนทัศนะในเรื่องกฎหมายและการยุติการตั้งครรภ์ ประชาสัมพันธ์ความร่วมมือของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แพทยสภา และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  ในช่วงที่ผ่านมา พบว่าอุปสรรคด้านหนึ่งของการให้บริการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย คือ ข้อกฎหมายที่ยังไม่มีความชัดเจน...

ทำไมต้องแก้กฎหมายเกี่ยวกับทำแท้ง ?

0
มาทำความเข้าใจกันก่อนนะ คือในโลกนี้มี 74 ประเทศที่การทำแท้งเป็นบริการสุขภาพ เหมือนการรักษาอาการเจ็บป่วยทั่วไป จึงไม่ต้องมีกฎหมายใดๆ มารองรับ ส่วนใหญ่คือประเทศที่พัฒนาแล้ว ที่น่าสนใจคือ จีน มองโกเลีย เนปาล เวียดนาม และกัมพูชา ก็อยู่ในกลุ่มนี้ด้วย ส่วนไทยไม่ใช่หนึ่งในนั้นแน่นอน  เดิมบ้านเราก็ไม่มีกฎหมายทำแท้งนะ ผู้หญิงไทยแต่โบราณทำแท้งได้โดยเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานโดยไม่เกี่ยวข้องกับรัฐ ประมาณว่า การตัดสินใจว่าจะท้องต่อหรือไม่ท้องต่อนั้นเป็นเรื่องส่วนตัว แต่พอประเทศเรามาเริ่มพัฒนากฎหมายเมื่อราว 100 กว่าปีก่อน ก็เลยเขียนกฎหมายนี้ตามประเทศเยอรมัน ให้การทำแท้งผิดกฎหมายอาญาทุกกรณี...

การประชุมเครือข่ายอาสาส่งต่อยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย (RSA) ภาคอีสาน

0
เมื่อวันที่ 14 – 15 สิงหาคม 2562 ที่ผ่านมา สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จัดการประชุมเครือข่ายอาสาส่งต่อยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย (RSA) ภาคอีสาน ณ โรงแรมริเวอร์ ซิตี้มุกดาหาร โดยการสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โครงการพัฒนาเครือข่ายบริการทางเลือกที่ปลอดภัยและเป็นมิตร สำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม โดยมีเป้าหมายให้การดำเนินงานเครือข่ายอาสา RSA (Referral system...

หยุดจับและดำเนินคดีกับการให้บริการทำแท้งที่ปลอดภัย

0
เสนอตำรวจหยุดจับและดำเนินคดีกับการให้บริการทำแท้งที่ปลอดภัยโดยแพทย์ ระหว่างที่ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาว่ากฎหมายอาญาว่าด้วยการทำแท้งอาจขัดต่อรัฐธรรมนูญ วันที่ 20 ธ.ค.61 เวลา 09.30 น. ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เครือข่ายสนับสนุนทางเลือกผู้หญิงท้องไม่พร้อม และเครือข่ายอาสา RSA (Referral system for Safe Abortion) แถลงข่าวกรณีศาลรัฐธรรมนูญรับพิจารณาคำร้องกฎหมายอาญามาตรา 301-305 ที่เกี่ยวข้องกับการทำแท้งว่าอาจขัดต่อรัฐธรรมนูญ รศ.ดร.กฤตยา  อาชวนิจกุล ผู้ประสานงานเครือข่ายสนับสนุนทางเลือกผู้หญิงท้องไม่พร้อม...

อายุครรภ์ของคุณประมาณ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า
RSA Prompt คืออะไร
ปรึกษาท้องไม่พร้อม
คำนวณอายุครรภ์
คำถามที่พบบ่อย