สติกเกอร์รณรงค์ประชาสัมพันธ์บริการสายด่วน 1663 และเครือข่ายอาสา RSA
เมนส์ไม่มา ตรวจแล้วข 2 ขีด ท้องไม่พร้อม โทร. 1663 เวลา 09.00 - 21.00 น. ทุกวันค้นหาสถานบริการเครือข่ายอาสา RSA : www.rsathai.org/networkservice
แผ่นพับเครือข่ายอาสา RSA (ล่าสุด63) Referral System for Safe Abortion
ปลอดภัยใส่ใจ "คุณภาพชีวิต" RSAThai อาสาปิดทองหลังพระ
ทำไมต้องมี RSA เพราะว่า.. ยังมีผู้หญิงที่จำเป็นต้องได้รับบริการที่เข้าข่ายการทำแท้งตามกฎหมาย แต่เข้าถึงหน่วยบริการได้ยากและราคาแพง จึงต้องเข้าไปสู่การทำแท้งที่ไม่ปลอดภัย ทำให้บาดเจ็บมีภาวะแทรกซ้อนและเสียชีวิตผลกระทบที่เกิดขึ้น..การตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมส่งผลต่อการเกิดที่ไม่มีคุณภาพ น้ำหนักแรกคลอดต่ำ ถูกทอดทิ้ง กำพร้า ขาดสารอาหาร ขาดการดูแลเอาใจใส่ เติบโตโดยไม่มีครอบครัวดูแล สิ่งเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชากรไทยในอนาคต ข้อบ่งชี้ของการยุติการตั้งครรภ์ที่สอดคล้องกับกฎหมายและข้อบังคับแพทยสภามีอะไรบ้าง ?การตั้งครรภ์นั้นๆ ส่งผลเสียต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตของผู้หญิง ตัวอ่อนในครรภ์พิการ การตั้งครรภ์เกิดจากความผิดทางเพศ ได้แก่...
Webcast Women’s health online ครั้งที่ 6
https://www.youtube.com/watch?v=9RFyx16-CII&feature=youtu.be
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย ร่วมกับบริษัท MSD (ประเทศไทย) จำกัด จัดกิจกรรมให้ความรู้ Webcast Women’s health online ครั้งที่ 6
โดยมีหัวข้อการบรรยาย ดังนี้
1) บรรยายพิเศษ : สถานการ์ณมาตรการและแนวทางการในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดย นพ.พีรยุทธ สานุกูล ผู้อำนวยการสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย...
มุมมองของนักวิชาการต่อการเสนอให้แก้ไขกฎหมายทำแท้ง
https://www.youtube.com/watch?v=achuXeEFiIk
โครงการเครือข่ายบริการทางเลือกสำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม จัดการเสวนาเชิงนโนบาย ผ่าทางตันกฎหมายทำแท้งไทย "ทำแท้งมิใช่ความอาญา แต่คือบริการสุขภาพ !! " เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2563 ณ อาคารสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข
เพื่อสร้างความเข้าใจต่อกฎหมายอาญาที่เกี่ยวช้องกับการยุติการตั้งครรภ์ วิเคราะห์สถานการณ์และประเด็นต่างๆ จากกรณีศึกษา และแลกเปลี่ยนทัศนะในเรื่องกฎหมายและการยุติการตั้งครรภ์ ประชาสัมพันธ์ความร่วมมือของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แพทยสภา และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ในช่วงที่ผ่านมา พบว่าอุปสรรคด้านหนึ่งของการให้บริการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย...
คลิปวิดิโอ : การบริหารจัดบริการยายุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ชวนรับชมคลิปวิดิโอ การจัดการประชุมชี้แจงจัดบริการยายุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับหน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนการใช้ยายุติการยุติการตั้งครรภ์ ตลอดจนหน่วยงานภาคีเครือข่าย เพื่อให้การจัดบริการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยด้วยยา (Medabon) เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด
https://youtu.be/lpGvpTPUB7E
https://youtu.be/DaNek675-mg
https://youtu.be/ObzWT59aJvc
https://youtu.be/MZCTuhxYmyQ
https://youtu.be/AITqGxFyPrA
https://youtu.be/kX-TCp307yY
ที่มา : การประชุมชี้แจงการบริหารจัดการบริการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ บันทึกวิดิโอเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2562 ณ โรงแรมทีเค พาเลซ ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร อ่านเพิ่มเติมได้ที่...
ข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติ เก่ียวกับการยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์
https://www.youtube.com/watch?v=IElZPnac2vo&feature=youtu.be
โครงการเครือข่ายบริการทางเลือกสำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม จัดการเสวนาเชิงนโนบาย ผ่าทางตันกฎหมายทำแท้งไทย "ทำแท้งมิใช่ความอาญา แต่คือบริการสุขภาพ !! " เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2563 ณ อาคารสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข
เพื่อสร้างความเข้าใจต่อกฎหมายอาญาที่เกี่ยวช้องกับการยุติการตั้งครรภ์ วิเคราะห์สถานการณ์และประเด็นต่างๆ จากกรณีศึกษา และแลกเปลี่ยนทัศนะในเรื่องกฎหมายและการยุติการตั้งครรภ์ ประชาสัมพันธ์ความร่วมมือของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แพทยสภา และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ในช่วงที่ผ่านมา พบว่าอุปสรรคด้านหนึ่งของการให้บริการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย คือ ข้อกฎหมายที่ยังไม่มีความชัดเจน...
ม.301 และ 305 ในมุมของแพทย์ผู้ให้บริการ
https://youtu.be/1C1YK52QLBQ
โครงการเครือข่ายบริการทางเลือกสำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม จัดการเสวนาเชิงนโนบาย ผ่าทางตันกฎหมายทำแท้งไทย "ทำแท้งมิใช่ความอาญา แต่คือบริการสุขภาพ !! " เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2563 ณ อาคารสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข
เพื่อสร้างความเข้าใจต่อกฎหมายอาญาที่เกี่ยวช้องกับการยุติการตั้งครรภ์ วิเคราะห์สถานการณ์และประเด็นต่างๆ จากกรณีศึกษา และแลกเปลี่ยนทัศนะในเรื่องกฎหมายและการยุติการตั้งครรภ์ ประชาสัมพันธ์ความร่วมมือของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แพทยสภา และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ในช่วงที่ผ่านมา พบว่าอุปสรรคด้านหนึ่งของการให้บริการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย คือ...
Webcast Women’s health online ครั้งที่ 5
เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2562 สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย ร่วมกับบริษัท MSD (ประเทศไทย) จำกัด จัดกิจกรรมให้ความรู้ โดยมีหัวข้อการบรรยาย ดังนี้
(1) สถานการณ์และนโยบายด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ เพื่อการป้องกันควบคุมการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในสตรี วิทยากรโดย นายแพทย์พีระยุทธ สานุกูล ผู้อำนวยการศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์...
ทุกคนในโรงพยาบาลต้องรับรู้หมดว่าคลินิกวัยรุ่นอยู่ตรงไหนและมีหน้าที่อะไร
https://www.youtube.com/watch?v=KO4DpX4u3Tg&t=6s
ส่วนใหญ่เด็กเขาจะมาถาม เด็กจะไม่ได้ถามเจ้าหน้าที่นะ ทำให้ทุกคนต้องรับรู้หมดว่าคลินิกวัยรุ่น อยู่ตรงไหนและมีหน้าที่อะไร จุดเริ่มต้นตอนแรกมารับงานวัยรุ่นตั้งแต่ปี 53 ถูกมอบหมายให้รับผิดชอบงาน โดยไม่เข้าใจคำว่าคลินิกวัยรุ่นคืออะไร เราก็เข้าหาแพทย์ เข้าหาพี่ ๆ เขาก็เอ็นดู เราก็ทำงานมาเป็นทีมเรื่อยๆ จากแบบลักษณะของพี่กับน้อง
มีเด็กท้องขึ้นมา ที่จะต้องมีเกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นงานฝากครรภ์ วางแผนครอบครัว งานสุขภาพจิต ตึกเด็ก ตึกหญิง ห้องคลอด รวมถึงระบบไอทีสารสนเทศ เรื่องสิทธิ งานประกันก็ต้องเกี่ยวข้อง...
รายงานเฝ้าระวัง การตั้งครรภ์แม่วัยรุ่น พ.ศ. 2561 – Teenage Pregnancy Surveillance Report, 2018
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย ได้ดำเนินงานเฝ้าระวังการตั้งครรภ์แม่วัยรุ่นมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 เก็บข้อมูลแม่วัยรุ่นอายุ < 20 ปี ที่มารับบริการฝากครรภ์และตรวจหลังคลอดในโรงพยาบาลในช่วงเมษายน - พฤษภาคม 2561 ผลการเฝ้าระวังครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า ควรพัฒนารูปแบบและคุณภาพของระบบบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ที่คลอบคลุมทุกบริการที่จำเป็นทุกด้านที่เป็นมิตรและได้รับสวัสดิการสังคมอย่างเสมอภาค และจัดให้มีบริการให้การปรึกษาการวางแผนครอบครัวในการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในทุกกลุ่มอายุ และแนวทางการจัดบริการอนามัยการเจริญพันธุ์สำหรับวัยรุ่นในโรงพยาบาลทุกแห่ง และมีการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการจัดบริการอนามัยการเจริญพันธุ์สำหรับวัยรุ่นให้แก่บุคลากรอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้โรงพยาบาลทุกแห่งดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับชาติ พ.ศ.2560 - 2569 ตามพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559...