Pro-Voice 9 : Thailand Abortion Rights 2022 : Abortion Rights, Health Rights, Human Rights...
วันที่ 28 กันยายน ของทุกปี เป็นวันยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยสากล ในปีนี้เครือข่ายที่ทำงานเรื่องการเข้าถึงการทำแท้งปลอดภัยในประเทศไทย ร่วมกันจัดกิจกรรมรณรงค์ ระหว่างวันที่ 20 – 28 กันยายน 2565 ดังต่อไปนี้
อังคารที่ 20 กันยายน เวลา 14.30-16.30 น. :เสวนาออนไลน์ “แก้กฎหมายแล้ว ทำไมหมอหลายคนยังไม่ทำแท้ง” จัดโดย...
สถานพยาบาลละเมิดสิทธิคนท้อง เลี่ยงทำแท้ง ทั้งที่เสี่ยงต่อสุขภาพ ทารกพิการ ร้อง 5 หน่วยงานเร่งหาแนวทางแก้ไข
“แพทย์ประเมินว่าลูกในท้องมีโอกาสผิดปกติด้านสมอง จึงแนะนำให้ยุติการตั้งครรภ์ แต่ทางโรงพยาบาลไม่สามารถที่จะยุติครรภ์ให้ได้ จึงแนะนำให้ไปโรงเรียนแพทย์ เธอเดินทางไปโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยทั้ง 4 แห่งในกรุงเทพฯ ไม่มีที่ไหนรับ...” กรณีศึกษาที่ 1 : https://rsathai.org/contents/22609/
“อายุ 48 ปี มีลูกมาแล้ว 5 คน อายุครรภ์ 16 สัปดาห์ ท้องนี้ไม่พร้อม เพราะเป็นโรคลมชัก เคยผ่าตัดเนื้องอกในสมอง ต่อมาพบเนื้องอกในมดลูก...
ชวนรับชม Live การประชุม Choices ครั้งที่ 54 เรื่อง “สิทธิการทำแท้งถอยหลังในอเมริกา สิทธิการทำแท้งไทยก้าวหน้าแต่ผู้หญิงเข้าไม่ถึงบริการ”
เครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม และโครงการ “การติดตามผลระบบบริการยุติการตั้งครรภ์และพัฒนานวัตกรรมบริการนวัตวิถี ในบริบทกฎหมายยุติการตั้งครรภ์ฉบับใหม่” สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กำหนดจัดการประชุมเพื่อสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมครั้งที่ 54 เรื่อง "สิทธิการทำแท้งถอยหลังในอเมริกา สิทธิการทำแท้งไทยก้าวหน้าแต่ผู้หญิงเข้าไม่ถึงบริการ" วันพฤหัสบดีที่ 21 กรกฎาคม 2565 เวลา 13.30-16.00 น.
กำหนดการ ดำเนินการประชุม โดย รศ.ดร.กฤตยา อาชวนิจกุล
13.30 - 13.35...
คลิปการถ่ายทอดสด การประชุมเพื่อสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมครั้งที่ 53 เรื่อง “14 เดือนของการใช้กฎหมายทำแท้งฉบับใหม่เกิดอะไรขึ้นบ้าง ?”
จัดโดย เครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม และโครงการ “การติดตามผลระบบบริการยุติการตั้งครรภ์และพัฒนานวัตกรรมบริการนวัตวิถีในบริบทกฎหมายยุติการตั้งครรภ์ฉบับใหม่ ”สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ถ่ายทอดสดวันศุกร์ที่ 8 เมษายน 2565 เวลา 13.30-16.30 น. ดำเนินการประชุม โดย รศ.ดร.กฤตยา อาชวนิจกุล
กำหนดการ
13.30 – 13.45 น. แนะนำโครงการ “การติดตามผลระบบบริการยุติการตั้งครรภ์และพัฒนานวัตกรรมบริการนวัตวิถีในบริบทกฎหมายยุติการตั้งครรภ์ฉบับใหม่”...
เครือข่ายท้องไม่พร้อมและภาคี ยื่นหนังสือต่อ รมต.กระทรวงสาธารณสุข เร่งรัดจัดทำประกาศกระทรวงฯ เรื่อง การตรวจและรับคำปรึกษาทางเลือกตาม ม.305 (5) พร้อม 4 ข้อเสนอ
วันนี้ (26 พฤษภาคม 2565) ที่สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข เครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงท้องไม่พร้อม นำโดย รศ.ดร.กฤตยา อาชวนิจกุล ร่วมกับภาคีเครือข่าย องค์กรที่ทำงานกับผู้หญิง เด็ก เยาวชน และบุคคลหลากหลายทางเพศ ในด้านสิทธิ สุขภาพ ความเสมอภาคและความเป็นธรรม รวม 36 องค์กร ยื่นจดหมายเปิดผนึกถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเรื่อง “การเร่งรัดจัดทำประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการตรวจและรับคำปรึกษาทางเลือกตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 305 (5)...
WHO ออกแนวทางใหม่เกี่ยวกับการทำแท้งฉบับใหม่
WHO issues new guidelines on abortion to help countries deliver lifesaving care Access to safe abortion critical for health of women and girls: WHOWHO...
ความรุนแรงกับท้องไม่พร้อม สังคมไม่พร้อม…
ความรุนแรงในครอบครัวเป็นการที่ผู้หญิงถูกคู่รัก สามี กิ๊ก คนในครอบครัวหรือเพื่อน ทำร้ายร่างกาย จิตใจ การคุกคาม การบังคับทางเพศ การข่มเหงด้านจิตใจ สาเหตุมาจากการติดการพนัน สุรายาเสพติด หรือความเครียดจากเศรษฐกิจ ทำให้ก่อความรุนแรง สร้างความเจ็บปวด ทุกข์ทรมานต่อร่างกายและจิตใจของผู้หญิง
เมื่อผู้หญิงเกิดตั้งครรภ์ที่ไม่ได้วางแผนขึ้นมาในสถานการณ์ที่มีความรุนแรง จะเกิดภาวะวิกฤตซ้อนวิกฤต คือ วิกฤตจากความรุนแรงที่เกิดขึ้น และวิกฤตของการตั้งครรภ์ ที่ทำให้ผู้หญิงอยู่ในสถานการณ์เปราะบาง ที่จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพแม่และลูก ที่สำคัญคือ ท้องไม่พร้อมและการทำแท้งเพิ่มขึ้น มีโอกาสแท้งเอง...
9 ข้อค้นพบและข้อท้าทายที่สำคัญ ในประเด็นความรุนแรงภายใต้สถานการณ์ท้องไม่พร้อม ในมิติทางสังคมของไทย เนื่องในการรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัว 2564
9 ข้อค้นพบและข้อท้าทายที่สำคัญในประเด็นความรุนแรงภายใต้สถานการณ์ท้องไม่พร้อมในมิติทางสังคมของไทย เนื่องในการรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัว 2564
สังคมไทยมีรูปแบบสังคมชายเป็นใหญ่ ไม่มีความเสมอภาคเท่าเทียมทางเพศ ผู้ใหญ่คิดว่าผู้หญิงเป็นสมบัติของพ่อแม่ ต่อมาชีวิตผู้หญิงเป็นของสามี ผลที่เกิดขึ้นถือว่าเป็นการท้าทายวิถีชีวิตของผู้หญิง
1) ไม่มีอำนาจต่อรองเรื่องบนเตียง (ต้องมีเพศสัมพันธ์เมื่อผู้ชายต้องการ) ผู้หญิงไม่กล้าปฏิเสธ2) ไม่มีอำนาจต่อรองเรื่องการคุมกำเนิด ผู้ชายไม่ใช้ถุงยางอนามัยแต่ผลักภาระให้ผู้หญิงเป็นผู้คุมกำเนิดแทน ผู้หญิงไม่กล้าปฏิเสธแม้ผู้ชายไม่ใส่ถุงยาง กลัวผู้ชายไม่รัก ซึ่งทำให้เกิดการท้องไม่พร้อมสาเหตุเพราะผู้หญิงคุมกำเนิดไม่สม่ำเสมอ คุมไม่ถูกวิธี ขาดความรู้ ผู้ให้คำปรึกษาจึงต้องให้ความรู้การคุมกำเนิดด้วย
การสนับสนุนให้ผู้ชายเกิดทัศนคติและปฏิบัติในแนวทางการมีเพศสัมพันธ์ที่มีความรับผิดชอบ โดยต้องคำนึงถึงการให้เกียรติผู้หญิง เน้นเรื่องความปลอดภัย ทั้งเรื่องป้องกันการท้องที่ไม่ได้วางแผน...
สภาพปัญหาที่ยังดำรงอยู่
สภาพปัญหาที่ยังดำรงอยู่ : คุณสมวงศ์ อุไรวัฒนา ศูนย์ปรึกษาเอดส์และท้องไม่พร้อม 1663
พันธสัญญาต่อการพัฒนาสิทธิและบริการยุติการตั้งครรภ์ในประเทศไทย
พันธสัญญาต่อการพัฒนาสิทธิและบริการยุติการตั้งครรภ์ในประเทศไทย : นพ.พรเพชร ปัญจปิยะกุล กองบริหารการสาธารณสุข สำนักปลัด กระทรวงสาธารณสุข