ความจำเป็นในการจัดหาเครือข่ายRSA

0
วัยรุ่นหญิงและสตรียังบาดเจ็บ มีภาวะจากการแทรกซ้อน และเสียชีวิตจากการทำแท้งเถื่อนที่ไม่ปลอดภัย และราคาแพงในเกือบทุกจังหวัดของประเทศ ทั้งๆ ที่หลายรายมีความจำเป็น และเข้าข่ายการทำแท้งตามกฎหมายโดยแพทย์ได้ แต่หาแพทย์ให้บริการได้ยาก เช่น ผู้ตั้งครรภ์เป็นผู้เยาว์อายุน้อยกว่า 15 ปี การเจ็บป่วยทางกายของผู้หญิง ภาวะทางจิต เครียด ซึมเศร้า ตัวอ่อนในท้องป่วย หรือพิการรุนแรงในครรภ์ การคุมกำเนิดผิดพลาด การถูกข่มขืน/ล่อลวง หรืออื่นๆ และมีผลกระทบต่อสังคม เช่น การทิ้งเด็ก...

การเกิดจากท้องที่ตั้งใจต้องให้ผู้หญิงมีส่วนตัดสินใจเลือกเอง

0
ในทศวรรษนี้ สังคมไทยกำลังเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงสำคัญ นั่นคือ การเป็นสังคมสูงวัย ด้วยอัตราการเกิดที่ลดลง สวนทางกับสถิติแม่วัยรุ่นที่เพิ่มขึ้นและด้วยคำถามสำคัญถึงการเกิดและการมีชีวิตอยู่ อย่างมีคุณภาพของสังคมไทย เรื่องของท้องไม่พร้อมกับการเกิดจึงสัมพันธ์กันอย่างแยกไม่ออก โดยเฉพาะเมื่อมองจากมุมของสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ แต่ความยากลำบากอย่างยิ่งของการทำความเข้าใจเรื่องท้องไม่พร้อมกับการเกิดก็คือ การที่ร่างกายผู้หญิงเป็นพื้นที่ต่อสู้รองรับอุดมการณ์หลายอย่างเกินไป เริ่มจาก... อุดมการณ์เรื่องเพศ ที่กำหนดแบบแผนปฏิบัติไว้อย่างแข็งตัว เช่น อนุญาตให้มีได้ในสถาบันการแต่งงานในวัยอันสมควร และในความสัมพันธ์ต่างเพศ ฯลฯ อุดมการณ์เรื่องผู้ชายเป็นใหญ่ ที่ยอมรับอิทธิพลของผู้ชายในการกำหนดความเป็นไปของชีวิตทางสังคมมากกว่าผู้หญิง แม้จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับเนื้อตัวร่างกายของผู้หญิงเองก็ตาม อุดมการณ์ครอบครัวสมบูรณ์ ที่สร้างระบบคุณค่าให้ความสำคัญกับการเกิดและการมีลูก โดยวางเฉยไม่เห็นว่าความตั้งใจ/ไม่ตั้งใจท้อง หรือความพร้อม/ไม่พร้อมที่จะตั้งครรภ์ของผู้หญิง เป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการตัดสินใจ ผู้หญิงจำนวนมากต้องเสียลละความต้องการ...

ข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติ เก่ียวกับการยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์

0
https://www.youtube.com/watch?v=IElZPnac2vo&feature=youtu.be โครงการเครือข่ายบริการทางเลือกสำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม จัดการเสวนาเชิงนโนบาย ผ่าทางตันกฎหมายทำแท้งไทย "ทำแท้งมิใช่ความอาญา แต่คือบริการสุขภาพ !! " เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2563 ณ อาคารสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข  เพื่อสร้างความเข้าใจต่อกฎหมายอาญาที่เกี่ยวช้องกับการยุติการตั้งครรภ์ วิเคราะห์สถานการณ์และประเด็นต่างๆ จากกรณีศึกษา และแลกเปลี่ยนทัศนะในเรื่องกฎหมายและการยุติการตั้งครรภ์ ประชาสัมพันธ์ความร่วมมือของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข แพทยสภา และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ  ในช่วงที่ผ่านมา พบว่าอุปสรรคด้านหนึ่งของการให้บริการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย คือ ข้อกฎหมายที่ยังไม่มีความชัดเจน...

Abortion Provider Appreciation Day 10 มีนาคมของทุกปี

0
Abortion Provider Appreciation Day 10 มีนาคมของทุกปี วันยกย่องบุคลากรผู้ให้บริการเพื่อให้ผู้หญิงเข้าถึงบริการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย ตั้งแต่ปี 2539 เป็นต้นมา วันที่ 10 มีนาคมของทุกปี ถือเป็นวัน Abortion Provider Appreciation Day หรือ วันยกย่องบุคลากรผู้ให้บริการ ทั้งแพทย์ พยาบาล นักสังคม นักจิตวิทยา ผู้ให้การปรึกษา...

ข้อจำกัดของ “วงสาธารณะ” : การตัดสินเชิงศีลธรรมและการตีตราประณาม – ท้องไม่พร้อม

0
ปรากฏการณ์ท้องไม่พร้อมและการเลือกยุติการตั้งครรภ์เป็นเรื่องที่คนเผชิญสถานการณ์หรือมีประสบการณ์มาก่อนเลือกที่จะไม่พูดถึง หรือเปิดเผยกับคนทั่วไป ทัศนัย ขันตยาภรณ์ กล่าวถึงแนวโน้มของคนที่จะไม่พูดถึงประสบการณ์นี้ว่า "เรื่องนี้มันเป็นเรื่องไม่พูดกัน...ส่งผลทำให้คนมีโอกาสที่จะแสวงหาองค์ความรู้เรื่องนั้นน้อย เพราะฉะนั้น (คนที่ไม่เคยเชิญสถานการณ์) พูดบนข้อจำกัดของตัวเอง ในส่วนที่ตัวเองรับรู้มา..กรอบหนึ่งมันเป็นกรอบเรื่องของกฎหมาย อย่างที่ว่า ถ้าคนไม่รู้จริงเรื่องกฎหมาย ก็จะคิดว่ามันเป็นเรื่องที่ผิดหมดเลยเรื่องแบบนี้…ผู้หญิงที่ประสบปัญหาตรงนี้เขาไม่ลุกมาพูด เพราะมันเป็นเรื่องที่ผ่านมาแล้ว จบก็ต้องการให้มันจบ จบแบบไม่มีใครรู้ด้วย.. เลยไม่ได้เกิดการพูดต่อเนื่องไป…ตัวของผู้ที่ประสมปัญหาเองก็ไม่ต้องการที่จะทำให้เป็นเรื่องสาธารณะด้วย ก็ไม่เปิดโอกาสให้คนอื่นเรียนรู้ชีวิตของคนที่ประสบมาด้วย จะต่างจากเอตส์ (ที่ผู้ติดเชื้อได้นำเสนอหรือแลกเปลี่ยนประสบการณ์ให้คนอื่นๆ ในสังคมได้รับรู้)" *(ทัศนัย ขันยาภรณ์ ,...

สถานพยาบาลละเมิดสิทธิคนท้อง เลี่ยงทำแท้ง ทั้งที่เสี่ยงต่อสุขภาพ ทารกพิการ ร้อง 5 หน่วยงานเร่งหาแนวทางแก้ไข

0
“แพทย์ประเมินว่าลูกในท้องมีโอกาสผิดปกติด้านสมอง จึงแนะนำให้ยุติการตั้งครรภ์ แต่ทางโรงพยาบาลไม่สามารถที่จะยุติครรภ์ให้ได้ จึงแนะนำให้ไปโรงเรียนแพทย์ เธอเดินทางไปโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยทั้ง 4 แห่งในกรุงเทพฯ ไม่มีที่ไหนรับ...” กรณีศึกษาที่ 1 : https://rsathai.org/contents/22609/  “อายุ 48 ปี มีลูกมาแล้ว 5 คน อายุครรภ์ 16 สัปดาห์ ท้องนี้ไม่พร้อม เพราะเป็นโรคลมชัก เคยผ่าตัดเนื้องอกในสมอง ต่อมาพบเนื้องอกในมดลูก...

Live เปิดแถลงข่าว “ศาลรัฐธรรมนูญรับคำร้องพิจารณามาตรา 301 และ 305 แห่งประมวลกฎหมายอาญาว่ามีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย”

0
https://youtu.be/i6CP7iKIS_U รศ.ดร.กฤตยา อาชวนิจกุล ผู้ประสานงานเครือข่ายสนับสนุนทางเลือกผู้หญิงท้องไม่พร้อม กล่าวว่า ระหว่างที่ศาลรัฐธรรมนูญตีความว่ากฎหมายอาญา ม.301-305 ที่เกี่ยวข้องกับการทำแท้งอาจขัดต่อรัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะ ม. 301 ที่ระบุว่า หญิงใดทำให้ตนหรือยินยอมให้ผู้อื่นทำให้ตนแท้งลูก ต้องมีความผิดตามกฎหมาย   ซึ่งข้อเท็จจริงคือ การตั้งครรภ์ไม่ได้เกิดจากฝ่ายหญิงเท่านั้น กฎหมายนี้จึงจงใจละเลยการเอาผิดกับผู้ชายที่ทำให้ผู้หญิงท้อง ซึ่งขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญที่เป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ ที่ระบุไว้ว่า ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลทั้งหญิงและชายต้องได้รับการคุ้มครองอย่างเท่าเทียมกัน ...

Road map to safe and legal abortion in Thai context เนื่องในวันยุติการตั้งครรภ์สากล International Safe Abortion...

0
วันที่ 28 กันยายน ของทุกปี นานาชาติกำหนดให้เป็นวันยุติการตั้งครรภ์สากล (Intemational Safe Abortion Day) คำขวัญในปีนี้คือ Diverse Actions, Different Places, One Demand: Access to Safe & Legal Abortion NOW I...

แพทย์ประเมินว่าลูกในท้องมีโอกาสผิดปกติด้านสมองแนะนำให้ยุติการตั้งครรภ์ แต่โรงพยาบาลไม่ยุติครรภ์ให้ …

0
“แพทย์ประเมินว่าลูกในท้องมีโอกาสผิดปกติด้านสมองแนะนำให้ยุติการตั้งครรภ์ แต่โรงพยาบาลไม่ยุติครรภ์ให้...แนะนำให้ไปโรงเรียนแพทย์ เธอเดินทางไปโรงพยาพยาบาลมหาวิทยาลัยทั้ง 4 แห่งในกรุงเทพฯ ไม่มีที่ไหนรับ...” หญิงตั้งครรภ์วัยกลางคน เธอฝากครรภ์ที่ รพ.เอกชนตามสิทธิประกันสังคม ตรวจเลือดพบโครโมโซมคู่ที่ 18 ผิดปกติ ได้ตรวจโครโมโซมโดยตรงพบ Trisomy 18 or Edwards syndrome แพทย์ยืนยันการตรวจด้วยการเจาะถุงน้ำคร่ำและผลออกมาเช่นเดิม แพทย์ประเมินว่าทารกที่คลอดมีโอกาสผิดปกติด้านสมองแนะนำให้ยุติการตั้งครรภ์ แต่โรงพยาบาลที่ฝากครรภ์และตรวจพบความผิดปกตินี้อ้างว่าไม่สามารถให้บริการยุติการตั้งครรภ์ได้เพราะผิดศีลธรรม และเครื่องมือไม่พร้อม จึงทำหนังสือยืนยันผลตรวจแล้วแนะนำให้ไปรับบริการที่โรงเรียนแพทย์หญิงตั้งครรภ์ใช้เวลาสองวันเต็ม เพื่อไปขอรับบริการที่โรงเรียนแพทย์ 4 แห่งในกรุงเทพ...

Live การรับคำร้องของศาลรัฐธรรมนูญมีนัยทางกฎหมายอย่างไร? ผศ. ดร. รณกรณ์ บุญมี

0
https://www.youtube.com/watch?v=Ho0gMRa1QNg&feature=youtu.be การรับคำร้องของศาลรัฐธรรมนูญมีนัยทางกฎหมายอย่างไร? ผศ. ดร. รณกรณ์ บุญมี อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่มา : https://youtu.be/Ho0gMRa1QNg แถลงข่าว "ศาลรัฐธรรมนูญรับคำร้องพิจารณามาตรา 301 และ 305 แห่งประมวลกฎหมายอาญาว่ามีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย" จัดโดย เครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงท้องไม่พร้อม และ เครือข่ายอาสา RSA ร่วมกับ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ 20...

อายุครรภ์ของคุณประมาณ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า
RSA Prompt คืออะไร
ปรึกษาท้องไม่พร้อม
คำนวณอายุครรภ์
คำถามที่พบบ่อย