Live เปิดแถลงข่าว “ศาลรัฐธรรมนูญรับคำร้องพิจารณามาตรา 301 และ 305 แห่งประมวลกฎหมายอาญาว่ามีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย”

0
https://youtu.be/i6CP7iKIS_U รศ.ดร.กฤตยา อาชวนิจกุล ผู้ประสานงานเครือข่ายสนับสนุนทางเลือกผู้หญิงท้องไม่พร้อม กล่าวว่า ระหว่างที่ศาลรัฐธรรมนูญตีความว่ากฎหมายอาญา ม.301-305 ที่เกี่ยวข้องกับการทำแท้งอาจขัดต่อรัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะ ม. 301 ที่ระบุว่า หญิงใดทำให้ตนหรือยินยอมให้ผู้อื่นทำให้ตนแท้งลูก ต้องมีความผิดตามกฎหมาย   ซึ่งข้อเท็จจริงคือ การตั้งครรภ์ไม่ได้เกิดจากฝ่ายหญิงเท่านั้น กฎหมายนี้จึงจงใจละเลยการเอาผิดกับผู้ชายที่ทำให้ผู้หญิงท้อง ซึ่งขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญที่เป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ ที่ระบุไว้ว่า ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลทั้งหญิงและชายต้องได้รับการคุ้มครองอย่างเท่าเทียมกัน ...

ศาล รธน. รับเรื่องร้องเรียนกฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้องกับการทำแท้ง กรณีแรกที่รับเรื่องร้องเรียนจากประชาชน #BalanceforBetter

0
วันสตรีสากล ปี 2562 เครือข่ายอาสา RSA และ เครือข่ายท้องไม่พร้อม ร่วมกันเรียกร้องให้มี #BalanceforBetter โดยขอให้มีความเท่าเทียมกันในมิติกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการทำแท้งระหว่างผู้หญิงและผู้ชาย เพราะการตั้งครรภ์นั้น ไม่ได้เกิดจากผู้หญิงฝ่ายเดียว ต้องมีผู้ชายมีส่วนร่วมด้วยทุกครั้ง วันที่ 13 พฤศจิกายน 2561 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเป็นเอกฉันท์รับเรื่องร้องเรียนความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของประมวลกฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้องกับการทำแท้ง โดยคำร้องได้ให้เหตุผลว่า บทบัญญัติมาตรา 301 มีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560...

ความเจ็บปวดก่อนลมหายใจสุดท้าย

0
เมื่อวานนี้มีข่าวการเสียชีวิตของนักศึกษาที่ท้องไม่พร้อม และตัดสินใจเลือกยุติการตั้งครรภ์ โดยวิธีที่ไม่ปลอดภัย ด้วยการใช้ยาทำแท้งเอง เป็นความสูญเสียที่ไม่ควรเกิดขึ้น ผู้หญิงควรมีทางเลือก และควรได้เข้ารับบริการเมื่อท้องไม่พร้อมอย่างมีศักดิ์ศรี  เขาต้องเจ็บปวดขนาดไหน… กว่าลมหายใจสุดท้ายจะหมดไป… บทเรียนชีวิตที่สอนคนข้างหลังอย่างพวกเรา ให้ระวังการถูกหลอก ขายยาทำแท้งออนไลน์ และการตายอย่างเดียวดาย ที่ปวดหัวใจที่สุด… จากการถามความคิดเห็นญาติและผู้หญิงท้องไม่พร้อมถึงเหตุผลที่เลือกซื้อยาทำแท้งทางเว็บไซต์ว่าทำไมจึงซื้อ คำตอบที่ได้คือ... (1) ไม่กล้าไปหาหมอ กลัวหมอจะไม่ทำให้ ให้เธอท้องต่อ และมองเป็นผู้หญิงไม่ดี (2) ตรงกับทางออกและความต้องการ (3) กลัวผิดกฎหมายและศีลธรรม (4) อยากปิดเป็นความลับ (5) สะดวก ไม่เรื่องมาก (6) รู้เท่าไม่ถึงการณ์ (7)...

ประกาศกรมอนามัย เรื่อง รับสมัครบุคคล (คนพิการ) เพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป

0
1. นักวิชาการสาธารณสุข อัตราว่าง จำนวน 1 อัตราเงินเดือน 18,000 บาทสังกัด สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางจิตวิทยา สาชาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ สาขาวิชาแพทยศาสตร์ สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร์ สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ สาขาวิชาสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์...

Thai pro-choice medical network campaigns for the right to safe abortions

0
A dozen activists gathered at the Constitutional Court of Thailand yesterday to demand the decriminalization of abortion under Thai law. The Thai Referral System for Safe Abortion...

การประชุมเครือข่ายอาสาส่งต่อยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย (RSA) ภาคใต้ ณ โรงแรมหรรษา เจบี อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

0
เมื่อวันที่ 21 -22  มกราคม 2562 ที่ผ่านมา โครงการพัฒนาเครือข่ายบริการทางเลือกสำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม โดยสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส. จัดการประชุมเครือข่ายอาสาส่งต่อยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย (RSA) ภาคใต้ ณ โรงแรมหรรษา เจบี อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มีเป้าหมายเพื่อขยายแนวคิดและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ตลอดจนเป็นการสร้างเครือข่ายการทำงาน ระหว่างการให้บริการปรึกษาทางเลือก การตั้งครรภ์ต่อ และการส่งต่อบริการยุติการตั้งครรภ์ที่เข้าถึงได้ของเครือข่ายในเขตจังหวัดภาคใต้...

เวิร์คชอปโซเชียลมีเดีย รุ่นที่ 1 : ทักษะการใช้โซเชียล 101

1
โครงการพัฒนาเครือข่ายบริการทางเลือกสำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม สนับสนุนงบประมาณโดยกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มีเป้าหมายในการพัฒนาเครือข่ายบริการทั้งตั้งครรภ์ต่อ และยุติการตั้งครรภ์ให้มีความเข้มแข็ง เข้าถึงได้ ให้บริการได้อย่างปลอดภัยและเป็นมิตร รวมทั้งการแสวงหาความต่อเนื่องในการดำเนินงานได้อย่างยั่งยืนในระบบต่อไป โครงการมีวัตถุประสงค์ข้อหนึ่ง การสร้างความเข้าใจสาธารณะต่อสิทธิในทางเลือกของวัยรุ่นและผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อมโดยใช้เครื่องมือสื่อสารออนไลน์ การรณรงค์ และเวทีเสวนาต่างๆ โดยการขับเคลื่อนงานออนไลน์ภายใต้โครงการ ดำเนินงานและบริหารจัดการโดยคณะทำงาน RSA ภูมิภาค ร่วมกับทีมโครงการและทีมเว็บไซต์ ใช้สื่อออนไลน์ ได้แก่ เฟซบุ๊กแฟนเพจ เว็บไซต์ RSAThai.org ยูทูบ โดยมีเครือข่ายสมาชิก...

ถึงเวลาถอดบทเรียนเครือข่ายท้องไม่พร้อมฯ (Choices) และเครือข่าย RSA

0
ชวนรับชมย้อนหลัง Live : ถึงเวลาถอดบทเรียนเครือข่ายท้องไม่พร้อมฯ (Choices) และเครือข่าย RSA วันจันทร์ที่ 24 สิงหาคม 2563 เวลา 09.00 12.30 น. เพื่อนำเสนอผลการดำเนินงานความก้าวหน้าในการขับเคลื่อนเครือข่ายบริการทางเลือกท้องไม่พร้อมเพื่อการตั้งครรภ์ต่ออย่างมีคุณภาพและการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย จัดโดยเครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม โครงการพัฒนาเครือข่ายบริการทางเลือกที่ปลอดภัยและเป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม โดยการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส) ถ่ายทอดสดจากโรงแรมเอสดี อเวนิว กรุงเทพฯ กำหนดการ  กล่าวต้อนรับและแนะนำตัว และรายงานผลการเคลื่อนไหวสำคัญๆในรอบ 2...

ทวงคืนสิทธิสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้ครอบคลุมคนไทยทุกคน (1)

0
ภาคีทวงคืนสิทธิสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ประกอบด้วยองค์กร กลุ่ม และเครือข่ายที่ทำงานด้านสิทธิมนุษยชน ความเสมอภาค สุขภาวะของเด็ก เยาวชน ผู้หญิง ผู้มีความหลากหลายทางเพศ แรงงานไทย รัฐวิสาหกิจ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี พนักงานบริการ องค์กรด้านแรงงาน และผู้ให้บริการสุขภาพ รวม 130 องค์กร เราตระหนักว่าการที่ประชาชนไทยจะมีสุขภาพที่ดีนั้น รัฐพึงจัดบริการสุขภาพทั้ง 4 ด้าน คือ 1)...
Young Fashion Designer Thinking

ถอดบทเรียนอังกฤษ-เนปาล ผู้หญิงไม่ใช่อาชญากร ทำแท้งปลอดภัยต้องถูกกฎหมาย

0
ผู้หญิงไม่ใช่อาชญากร ทำแท้งปลอดภัยต้องถูกกฎหมาย  ถอดบทเรียน อังกฤษ เนปาลเกิดอะไรขึ้นหลังยกเลิกโทษอาญาหญิงทำแท้ง ย้อนดูความหวังสังคมไทย จะก้าวเดินต่อไปอย่างไร เพื่อลดอัตราการตายของสตรีจากหมอเถื่อน รวมไปถึงข้อเรียกร้องเพื่อสร้างความเท่าเทียมทางเพศ  ประเด็นเรื่องการทำแท้งยังคงเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันอยู่ในสังคมไทยมาระยะใหญ่ๆ ทุกครั้งที่มีการหยิบยกประเด็นนี้แน่นอนว่ามีทั้งฝ่ายที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วย หนึ่งในเหตุผลที่ฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยมักยกขึ้นมาเสมอๆ นั่นคือ ศีลธรรมความดี ความถูกต้อง  ขณะที่ฝ่ายสนับสนุนพยายามชูประเด็นความเท่าเทียม รวมไปถึงสิทธิในการดูแลตัวเองและการช่วยเหลือ ในงานเสวนา “ผู้หญิงไม่ใช่อาชญากร ทำแท้งปลอดภัยต้องถูกกฎหมาย” เมื่อเร็วๆ นี้ ซึ่งมีกลุ่มทำทาง มูลนิธิมานุษยะ สถานทูตอังกฤษ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ และเครือข่ายทางเลือกเพื่อผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม ร่วมถกกันว่า ทางออกของเรื่องนี้ควรไปในทางใด กรณีศึกษากฎหมายทำแท้ง จากอังกฤษและเนปาล : “ประเทศอังกฤษ ได้มีการยกเลิกการลงโทษทางอาญาสำหรับผู้ที่ทำแท้ง เดิมกฎหมายทำแท้งมีขึ้นในปี 1967 โดยใช้แพทย์ 2 คนพิจารณาการทำแท้ง รวมทั้งผู้หญิงที่ทำแท้งต้องแสดงหลักฐานว่า สภาพร่างกายหรือจิตใจไม่พร้อมมีบุตร โดยบริการทำแท้งสามารถเข้าถึงได้โดยสำนักงานให้บริการสุขภาพแห่งชาติ (NHS)” Kaitlyn Mccoy ตัวแทนกลุ่มทำทาง กล่าวถึงกรณีศึกษาเรื่องกฎหมายทำแท้งของอังกฤษ เธอบอกว่า หลังจากยกเลิกการลงโทษทางอาญาทำให้มีปริมาณผู้เสียชีวิตจากการทำแท้งลดลง เนื่องจากผู้เสียชีวิตจากการทำแท้งไม่ปลอดภัยลดลง แต่ปัญหาสำคัญในอังกฤษที่ทำให้มีการยกเลิกความผิดทางอาญานอกจากการเสียชีวิตจากการทำแท้งไม่ปลอดภัยปีละ 30 – 50 คนต่อปีแล้ว ประเทศอังกฤษยังมีปัญหาเรื่องการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นสูงที่สุดในทวีปยุโรปซึ่งส่งผลกระทบต่อประชากรทำให้แม่ที่ตั้งครรภ์ต้องออกจากโรงเรียน ไม่สามารถเรียนต่อได้ ประสบปัญหาด้านคุณภาพชีวิต ต้องรอรับความช่วยเหลือจากรัฐ เมื่อมีการแก้ไขกฎหมายกำหนดพระราชบัญญัติด้านการทำแท้งก็ไม่มีปัญหาเรื่องต่อต้านหรือการประท้วง เพราะจากการศึกษาเมื่อปี 2017 พบว่า 94% ของประชากรเห็นด้วยว่าผู้หญิงสามารถทำแท้งได้ถ้าชีวิตตกอยู่ในอันตราย อีกส่วนหนึ่งเห็นว่าผู้หญิงที่ไม่สามารถที่จะเป็นแม่หรือไม่สามารถเลี้ยงลูกได้ก็สามารถทำแท้งได้ บริการทำแท้งของอังกฤษเป็นบริการทำแท้งฟรีและเป็นส่วนหนึ่งของระบบประกันสุขภาพพื้นฐานของอังกฤษ นอกจากนั้นยังมีเว็บไซต์ที่ให้ข้อมูลเรื่องการทำแท้งที่ปลอดภัย มีการระบุสถานที่ที่รับบริการ ส่วนผู้หญิงที่ยังไม่แน่ใจหรือไม่สามารถตัดสินใจ สามารถรับบริการรับคำปรึกษาจากผู้ให้บริการได้ รวมทั้งมีการระบุความเสี่ยงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับกระบวนการในการทำแท้ง Kaitlyn กล่าวเสริมว่า นอกจากแก้ไขปัญหาเรื่องการทำแท้งแล้ว ในประเทศอังกฤษยังมีการปรับเปลี่ยนระบบการสอนเพศศึกษาโดยเน้นการให้การศึกษาแบบองค์รวม ทั้งเรื่องการคุมกำเนิด การป้องกันการตั้งครรภ์ การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย ซึ่งสามารถเข้าถึงได้ทางอินเตอร์เน็ต นอกจากนั้นในพื้นที่ที่ยังมีประชากรที่ไม่ใช้อินเตอร์เน็ตก็มีการประชาสัมพันธ์ผ่านโทรทัศน์ วิทยุ หรือหนังสือพิมพ์ “ขณะนี้ประเทศอังกฤษกำลังมีความพยายามที่จะแก้ไขกฎหมายเพื่อที่จะลดภาระของผู้หญิงในการที่จะต้องแสดงข้อมูลทางด้านสุขภาพว่าตนเองมีสภาพร่างกายหรือสภาพจิตใจที่ไม่พร้อมต่อการมีบุตร เพราะว่าหลายคนใช้วิธีการให้ข้อมูลเท็จต่อแพทย์เพื่อที่จะใช้บริการการทำแท้ง โดยจะเป็นการเปลี่ยนแปลงเพื่อที่จะยอมรับสิทธิของผู้หญิงในการตัดสินใจในเนื้อตัวร่างกายของตัวเองมากขึ้น” เธอกล่าว ขณะที่ของประเทศเนปาล ที่ได้มีการเปิดให้ทำแท้งอย่างถูกกฎหมายตั้งแต่ปี 2002 ซึ่งต่างจากกรณีของประเทศอังกฤษเนื่องจากการทำแท้งเป็นทางเลือกของผู้หญิงทุกคนโดยไม่จำเป็นต้องพิสูจน์ว่า ผู้ที่กำลังตั้งครรภ์มีสุขภาพกายหรือจิตใจที่ไม่พร้อมต่อการมีบุตร โดยการทำแท้งเสียค่าใช้จ่าย 500 บาทไทย ถ้าไม่มีเงินสามารถรับบริการฟรีได้ที่โรงพยาบาลของรัฐทุกแห่ง Kaitlyn เผยว่า ปัจจัยที่ทำให้เกิดการแก้ไขกฎหมายด้านการทำแท้งของประเทศเนปาลคืออัตราการเสียชีวิตของแม่ในประเทศเนปาลสูงที่สุดในโลก พบว่า 50% ของการเสียชีวิตมาจากการทำแท้งผิดกฎหมาย หลังจากที่เปิดโอกาสให้มีการดำเนินการทำแท้งได้อย่างถูกกฎหมายพบว่า อัตราการเสียชีวิตของมารดาลดลง 50% จาก 548รายต่อปี เหลือเพียงส 200 กว่ารายภายในปีแรกที่มีการแก้ไขกฎหมายการทำแท้ง หลังจากแก้ไขกฎหมาย ไม่พบว่า มีการต่อต้านหรือการประท้วงจากประชาชนในสังคม เนื่องจากองค์กรด้านสิทธิมนุษยชนและสิทธิผู้หญิงในประเทศเนปาลได้มีการรณรงค์ให้ความรู้ว่า มีผู้หญิงที่เสียชีวิตจากการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัยเป็นจำนวนเท่าไหร่ต่อปี การใช้หลักการนี้ทำให้ไม่มีการประท้วงหรือการโจมตีรัฐบาลจากการเปลี่ยนนโยบายการทำแท้ง เนื่องจากสังคมเห็นว่า...

อายุครรภ์ของคุณประมาณ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า
RSA Prompt คืออะไร
ปรึกษาท้องไม่พร้อม
คำนวณอายุครรภ์
คำถามที่พบบ่อย